เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

อนุกูล คือ

สัทอักษรสากล: [a nu kūn]  การออกเสียง:
"อนุกูล" การใช้"อนุกูล" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • ก. เกื้อกูล, สงเคราะห์. (ป., ส.).
  • อน     อะนะ- เป็นคำปฏิเสธ แปลว่า ไม่, ไม่ใช่, ใช้ประกอบหน้าศัพท์บาลีและสันสกฤตที่ขึ้นต้นด้วยสระ เช่น อาทร = เอื้อเฟื้อ, อนาทร = ไม่เอื้อเฟื้อ. ( ดู อ ๒
  • อนุ     คำประกอบหน้าศัพท์บาลีหรือสันสกฤตมีความหมายว่า น้อย เช่น อนุทิศ = ทิศน้อย, ภายหลัง, รุ่นหลัง, เช่น อนุชน = ชนรุ่นหลัง, ตาม เช่น อนุวัต = เป็นไปตาม,
  • นุ     ๑ ( กลอน ) ตัดมาจากอุปสรรค อนุ เช่น ทราบนุสนธิ์ทุกแห่ง. ( ตะเลงพ่าย ); อเนกนุประการ. ( พงศ. เลขา ); โดยนุกรม. ( ม. คำหลวง วนปเวสน์). ๒ (
  • กู     ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด ในปัจจุบันมักถือกันว่าไม่สุภาพ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.
  • ลีออนเบิร์ก    สุนัขพันธุ์ลีออนเิบิร์ก
  • ผู้ถอนเงิน ลิ้นชัก    ผู้ดึง ผู้ลาก สิ่งที่ลาก
  • ลืมข้อขัดแข้งไว้ก่อน    ยุติข้อขัดแย้งไว้ก่อน
  • ล่อน    ก. หลุดออกหมดไม่มีเหลือติดอยู่ (ใช้แก่สิ่งที่เป็นเนื้อเยื่อ หรือสิ่งซึ่งห่อหุ้มอยู่) เช่น เงาะล่อน พริกไทยล่อน, หลุดออกเป็นชิ้นเป็นแผ่น เช่น สะเก็ดล่อน สีล่อน, หลุดออกง่ายเมื่อกะเทาะหรือแซะออกเป็นต้
  • อนิล    อะนิละ- น. ลม. (ป., ส.).
  • อนิล-    อะนิละ- น. ลม. (ป., ส.).
  • ก.ล.    กล. กิโลลิตร
  • กุล    ๑ กุน, กุนละ-, กุละ- น. ตระกูล, สกุล. (ป., ส.). ๒ (ถิ่น-ปักษ์ใต้) น. ต้นพิกุล. (ดู พิกุล).
  • กุล-    กุน, กุนละ-, กุละ- น. ตระกูล, สกุล. (ป., ส.).
  • กุลี    ๑ น. คนรับจ้างทำงานหนักมีหาบหามเป็นต้น. ๒ เพี้ยนมาจาก กลี เช่น เกิดการกุลี. (กฎ. ราชบุรี). ๓ ลักษณนามบอกปริมาณ คือผ้าห่อหนึ่งที่รวมกัน ๒๐ ผืน (ใช้แก่ผ้าลาย ผ้าพื้น ผ้าขาวม้า และโสร่ง เป็นต้น).
  • ลัก    ก. เอาสิ่งของที่เขาไม่ให้ไปด้วยอาการซ่อนเร้น, ขโมย, เช่น ลักทรัพย์, แอบทำ, ลอบทำ, เช่น ลักกินขนมในห้องเรียน ลักสูบบุหรี่ในห้องน้ำ. ว. เว้นข้ามไปทำให้เสียระเบียบ เช่น รถไฟลักหลีก ทำให้รถ ๒ ขบวนชนกัน.
ประโยค
  • นายอนุกูล ปีดแก้ว รองอธิบดีกรมกิจการเด็กและเยาวชน
  • อินทร์โซล เจียมอนุกูลกิจ
  • ผศ . ดร . วรานนท์ อนุกูล
  • คุณอนุกูล มูลอิ่นคำ