เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

อัพภันดร คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • อับพันดอน, -ตะระ-
    น. ส่วนใน, ภายใน, ท่ามกลาง; ชื่อมาตราวัดในบาลี ราว ๗ วา เป็น ๑ อัพภันดร. (ป.; ส. อภฺยนฺตร).
  • ดร     ๑ ดอน ( แบบ ) น. พ่วง, แพ. ( ป. , ส. ตร). ๒ ( โบ ) น. ดอน.
  • ทุพภิกขันดร    ทุบพิกขันดอน, ทุบพิกขันดะระกับ น. ระยะเวลาที่กำหนดไว้ว่าเป็นตอนที่ขาดแคลนอาหาร, คู่กับ สัตถันดรกัป คือ ระยะเวลาที่ฆ่าฟันกันไม่หยุดหย่อน. (ป.).
  • ทุพภิกขันดรกัป    ทุบพิกขันดอน, ทุบพิกขันดะระกับ น. ระยะเวลาที่กำหนดไว้ว่าเป็นตอนที่ขาดแคลนอาหาร, คู่กับ สัตถันดรกัป คือ ระยะเวลาที่ฆ่าฟันกันไม่หยุดหย่อน. (ป.).
  • ทุพภิกขันดรกัปป์    ทุพภิกขันดรกัป
  • อันดร    -ดอน น. ภายใน, ระหว่าง, มักใช้เข้าสนธิกับคำอื่น เป็นส่วนท้ายของคำสมาส เช่น พุทธ + อันดร = พุทธันดร นิร + อันดร = นิรันดร. (ป., ส. อนฺตร).
  • อัพภันตร    อับพันดอน, -ตะระ- น. ส่วนใน, ภายใน, ท่ามกลาง; ชื่อมาตราวัดในบาลี ราว ๗ วา เป็น ๑ อัพภันดร. (ป.; ส. อภฺยนฺตร).
  • อัพภันตร-    อับพันดอน, -ตะระ- น. ส่วนใน, ภายใน, ท่ามกลาง; ชื่อมาตราวัดในบาลี ราว ๗ วา เป็น ๑ อัพภันดร. (ป.; ส. อภฺยนฺตร).
  • อัพภาน    อับพาน น. การชักกลับมา, ในวินัยหมายถึง การรับภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส และได้ถูกทำโทษคือ อยู่ปริวาสแล้วให้กลับคืนเป็นผู้บริสุทธิ์, การสวดประกาศเรื่องนี้ เรียกว่า สวดอัพภาน. (ป.).
  • อัพภาส    อับพาด น. คำซ้ำ, ในไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต หมายเอา การซ้อนหรือซ้ำอักษรลงหน้าศัพท์ เช่น ชวาล (เรือง) เป็น ชัชวาล (รุ่งเรือง), ในภาษาไทยก็ใช้ เช่น ครื้น ครึก ยิ้ม แย้ม ใช้ อัพภาส เป็น คะครื้น คะครึก ยะ
  • มอนดรีอัน    พีต มอนดรีอัน
  • อัพภูตธรรม    น. ชื่อคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาส่วน ๑ ใน ๙ ส่วนที่เรียกว่า นวังคสัตถุศาสน์. (ป.).
  • พีต มอนดรีอัน    มอนดรีอัน
  • เจน เฮนดริกซ์ อูร์ต    อูร์ต
  • (อุดร)    มาจาก อภิธานภาษาลาวพวนในจังหวัดสระบุรีและลพบุรี พ.ศ. ๒๔๗๕
  • อุดร    -ดอน น. ทิศเหนือ ใช้ว่า ทิศอุดร; ข้างซ้าย. (ป., ส. อุตฺตร).