เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

อัพภาส คือ

สัทอักษรสากล: [ap phāt]  การออกเสียง:
"อัพภาส" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • อับพาด
    น. คำซ้ำ, ในไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต หมายเอา การซ้อนหรือซ้ำอักษรลงหน้าศัพท์ เช่น ชวาล (เรือง) เป็น ชัชวาล (รุ่งเรือง), ในภาษาไทยก็ใช้ เช่น ครื้น ครึก ยิ้ม แย้ม ใช้ อัพภาส เป็น คะครื้น คะครึก ยะยิ้ม ยะแย้ม. (ป.; ส. อภฺยาส).
  • ภา     น. แสงสว่าง, รัศมี. ( ป. , ส. ).
  • ภาส     พาด, พาดสะ-, พาสะ- น. แสง, สว่าง, แจ้ง. ( ป. , ส. ).
  • อัพภาน    อับพาน น. การชักกลับมา, ในวินัยหมายถึง การรับภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส และได้ถูกทำโทษคือ อยู่ปริวาสแล้วให้กลับคืนเป็นผู้บริสุทธิ์, การสวดประกาศเรื่องนี้ เรียกว่า สวดอัพภาน. (ป.).
  • บุพภาค    น. ส่วนเบื้องต้น. (ป. ปุพฺพภาค).
  • มหัพภาค    มะหับพาก น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ .; ภาคใหญ่.
  • อัพภันดร    อับพันดอน, -ตะระ- น. ส่วนใน, ภายใน, ท่ามกลาง; ชื่อมาตราวัดในบาลี ราว ๗ วา เป็น ๑ อัพภันดร. (ป.; ส. อภฺยนฺตร).
  • อัพภันตร    อับพันดอน, -ตะระ- น. ส่วนใน, ภายใน, ท่ามกลาง; ชื่อมาตราวัดในบาลี ราว ๗ วา เป็น ๑ อัพภันดร. (ป.; ส. อภฺยนฺตร).
  • อัพภันตร-    อับพันดอน, -ตะระ- น. ส่วนใน, ภายใน, ท่ามกลาง; ชื่อมาตราวัดในบาลี ราว ๗ วา เป็น ๑ อัพภันดร. (ป.; ส. อภฺยนฺตร).
  • ปัพภาระ    น. เงื้อมเขา. (ป.).
  • บรรพภาค    (แบบ) น. ข้อมือ. (ส.).
  • อัพภูตธรรม    น. ชื่อคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาส่วน ๑ ใน ๙ ส่วนที่เรียกว่า นวังคสัตถุศาสน์. (ป.).
  • ภาพภายนอก    ภาพลักษณ์
  • ภาพภูมิประเทศ    ฉากทั้งหลาย ทิวทัศน์ ภูมิประเทศ ภูมิทัศน์
  • สภาพภูมิอากาศ    สภาพอากาศ ลักษณะภูมิอากาศ
  • ภาส-    พาด, พาดสะ-, พาสะ- น. แสง, สว่าง, แจ้ง. (ป., ส.).