อาคันตุกะ คือ
สัทอักษรสากล: [ā khan tu ka] การออกเสียง:
"อาคันตุกะ" การใช้"อาคันตุกะ" อังกฤษ"อาคันตุกะ" จีน
ความหมายมือถือ
อาคันตุกะ-
น. แขกผู้มาหา. (ป., ส.).
- อา ๑ น. น้องของพ่อ, ( โบ ) เขียนเป็น อาว์ ก็มี. (อีสาน อา ว่า น้องสาวของพ่อ, อาว ว่า น้องชายของพ่อ). ๒ ( กลอน ) ว.
- อาคันตุก อาคันตุกะ- น. แขกผู้มาหา. ( ป. , ส. ).
- คัน ๑ น. แนวดินหรือแนวทรายเป็นต้นที่พูนสูงขึ้นเป็นแนวยาว เช่น คันทราย, แนวดินที่พูนขึ้นมาสำหรับกั้นน้ำ เช่น คันนา คันดิน;
- ตุ ว. ลักษณะกลิ่นเหม็นอย่างหนึ่งคล้ายกลิ่นเนื้อหรือปลาที่ตากไม่ได้แดดเป็นต้น, ใช้ประกอบกับคำ เหม็น เป็น เหม็นตุ.
- กะ พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคำซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อสละสลวยหรือเน้นคำให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น
- อาคันตุก- อาคันตุกะ- น. แขกผู้มาหา. (ป., ส.).
- อาคันตุกภัต น. อาหารที่เตรียมถวายภิกษุที่จรมา. (ป. อาคนฺตุกภตฺต).
- อาคันตุกวัตร น. มรรยาทที่จะต้องประพฤติต่อแขกผู้มาหา. (ส.; ป. อาคนฺตุกวตฺต).
- เอาแกะเข้าคอก ใส่คอก
- วินตกะ วินตะกะ น. ชื่อภูเขาชั้นที่ ๖ ในหมู่เขาสัตบริภัณฑ์ที่ล้อมเป็นวงกลมรอบเขาพระสุเมรุ. (ป., ส. วินตก). (ดู สัตบริภัณฑ์, สัตภัณฑ์).
- สันติกะ น. สำนัก, ที่ใกล้. (ป.).
- อันตกะ อันตะกะ น. “ผู้ทำที่สุด” หมายถึง ความตาย คือ พระยม. (ป., ส.).
- อันติกะ น. ที่ใกล้, บริเวณ. ว. ใกล้, แทบ, เกือบ. (ป., ส.).
- กะอาน ดู กระอาน.
- กะอาม น. กะอวม เช่น กะอามลั่นทมชวน ใจรื่น รมย์นา. (พงศ. เหนือ).
ประโยค
- ข้าต้องไปดูว่าอาคันตุกะคนใหม่ของเราต้องการอะไร
- แต่สัมผัสของเขาจะไม่ทราบ ฐานะพระราชอาคันตุกะเปียก
- ฝ่าบาททั้งสอง ข้าแค่ต้อนรับอาคันตุกะพระองค์
- ผมหมายความว่าอาคันตุกะของเรา ดูเหมือนจะกังวลอย่างยิ่ง
- “ ณ ริมจัน รีสอร์ท ท่าน คือ อาคันตุกะ ของเรา ”
- ท่านเคยเป็นใหญ่ในกรมตำรวจ แล้วตอนนี้มาวิ่งรับใช้อาคันตุกะ
- แลัววันหนึ่งในฤดูใบไม้ร่วง อาคันตุกะที่เราคุ้นเคยก็มาเยือน
- ข้าจัดการให้เขาเป็นพระราชอาคันตุกะและให้เขาพักอยู่ในราชสำนัก
- พระราชอาคันตุกะ ที่ต้องจ่ายค่าจ้าง
- หญิงพรหมจรรย์ หญิงอาวุโส อาคันตุกะ
- ตัวอย่างการใช้เพิ่มเติม: 1 2