อาวาหมงคล คือ
สัทอักษรสากล: [ā wā ha mong khon] การออกเสียง:
"อาวาหมงคล" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- n.
การสมรสโดยการนำเจ้าสาวมาอยู่บ้านเจ้าบ่าว คำตรงข้าม: วิวาหมงคล
- อา ๑ น. น้องของพ่อ, ( โบ ) เขียนเป็น อาว์ ก็มี. (อีสาน อา ว่า น้องสาวของพ่อ, อาว ว่า น้องชายของพ่อ). ๒ ( กลอน ) ว.
- อาว ( ถิ่น-อีสาน ) น. อาผู้ชาย, น้องชายของพ่อ.
- อาวาห อาวาหะ- น. “การพาหญิงมาอยู่บ้านของตน” หมายถึง การแต่งงานแบบหนึ่งที่ฝ่ายชายจะนำหญิงที่ตนแต่งงานด้วยมาอยู่ที่บ้านของตน เรียกว่า อาวาหมงคล,
- วา ๑ น. มาตราวัดตามวิธีประเพณี เท่ากับ ๔ ศอก มีอัตราเท่ากับ ๒ เมตร, อักษรย่อว่า ว. ก. กิริยาที่กางแขนเหยียดตรงออกทั้ง ๒ ข้าง. ๒ น.
- มงคล มงคน, มงคนละ- น. เหตุที่นำมาซึ่งความเจริญ เช่น มงคล ๓๘, สิ่งซึ่งถือว่าจะนำสิริและความเจริญมาสู่และป้องกันไม่ให้สิ่งที่เลวร้ายมากล้ำกราย,
- คล คน ( แบบ ) น. คอ เช่น เหลือกตาเมียงเอียงคล. ( ม. คำหลวง กุมาร). ( ป. , ส. ).
- วิวาหมงคล น. พิธีแต่งงาน, งานสมรส, เช่น ขอเชิญหลั่งน้ำพระพุทธมนต์ในงานวิวาหมงคล.
- คราวมงคล คราวดี ศุภเคราะห์ โอกาสดี
- มงคลวาท มงคนละวาด น. คำให้พร, คำแสดงความยินดี.
- มงคลวาร มงคนละวาน น. วันดี, วันอังคาร.
- อาวาห- อาวาหะ- น. “การพาหญิงมาอยู่บ้านของตน” หมายถึง การแต่งงานแบบหนึ่งที่ฝ่ายชายจะนำหญิงที่ตนแต่งงานด้วยมาอยู่ที่บ้านของตน เรียกว่า อาวาหมงคล, เป็นประเพณีแต่งงานที่นิยมปฏิบัติกันในประเทศอินเดียฝ่ายเหนือ.
- มงคล- มงคน, มงคนละ- น. เหตุที่นำมาซึ่งความเจริญ เช่น มงคล ๓๘, สิ่งซึ่งถือว่าจะนำสิริและความเจริญมาสู่และป้องกันไม่ให้สิ่งที่เลวร้ายมากล้ำกราย, เรียกงานที่จัดให้มีขึ้นเพื่อความอยู่เย็นเป็นสุข เช่น งานทำบุญ
- มงคล่อ ดู มองคร่อ.
- ใส่มงคล สวมมงคล
- ความอัปมงคล จัญไร เสนียด เสนียดจัญไร