อ่อนน้อมถ่อมตัว คือ
"อ่อนน้อมถ่อมตัว" การใช้"อ่อนน้อมถ่อมตัว" อังกฤษ
- ถ่อมตน
ถ่อมตัว
นอบน้อมถ่อมตน
- อ่อน ว. ไม่กระด้าง เช่น ลิ้นอ่อน; นิ่ม เช่น เนื้ออ่อน; ไม่จัด เช่น แดดอ่อน; ไม่แข็ง, ยอมง่าย ๆ, รู้สึกสงสาร, เช่น ใจอ่อน; ไม่แก่ เช่น มะพร้าวอ่อน;
- อ่อนน้อม ก. แสดงกิริยาวาจาอย่างมีคารวะ; ยอมแพ้, สวามิภักดิ์. ว. มีกิริยาวาจาอย่างมีคารวะ.
- อน อะนะ- เป็นคำปฏิเสธ แปลว่า ไม่, ไม่ใช่, ใช้ประกอบหน้าศัพท์บาลีและสันสกฤตที่ขึ้นต้นด้วยสระ เช่น อาทร = เอื้อเฟื้อ, อนาทร = ไม่เอื้อเฟื้อ. ( ดู อ ๒
- น้อม ก. โน้ม เช่น น้อมลาภมาเพื่อตน, ค้อม เช่น กิ่งไม้น้อมลง, โอนลงเป็นการแสดงความเคารพ เช่น น้อมกาย น้อมใจ, โอนอ่อนตาม เช่น น้อมใจเชื่อ.
- อม ก. เอาสิ่งของใส่ปากแล้วหุบปากไว้ไม่กลืนลงไป, โดยปริยายหมายความว่า ไม่แสดงออกมา เช่น อมภูมิ; กลมกลืน, ปนกัน, เช่น อมเปรี้ยวอมหวาน เขียวอมเหลือง; (
- ถ่อ ๑ น. ไม้สำหรับยันแล้วดันให้เรือเดิน มักเป็นไม้ไผ่. ก. ทำให้เรือเดินด้วยใช้ไม้นั้นยันแล้วดันไป, ( ปาก ) โดยปริยายหมายความว่า
- ถ่อม ก. ทำให้ต่ำลง.
- ถ่อมตัว ก. แสดงฐานะหรือความรู้ความสามารถต่ำกว่าที่เป็นจริง.
- อมต อะมะตะ-, อะมะตะ ว. ไม่ตาย เช่น อมตธรรม, เป็นที่นิยมยั่งยืน เช่น เพลงอมตะ. น. พระนิพพาน. ( ป. ; ส. อมฺฤต).
- มต มะตะ- ก. ตายแล้ว. ( ป. ; ส. มฺฤต).
- ตัว ๑ น. รูป, ตน, ตนเอง, คำใช้เรียกแทนคน สัตว์ และสิ่งของบางอย่าง เช่น ตัวละคร ตัวหนังสือ; ลักษณนามใช้เรียกสัตว์และสิ่งของบางอย่าง เช่น ม้า ๕ ตัว
- ความอ่อนน้อมถ่อมตน ความนอบน้อม
- ความถ่อมตัว ความนอบน้อม ความเรียบง่าย ความอ่อนน้อม ความสงบเสงี่ยม
- ที่อ่อนน้อม ที่เชื่อฟัง
- ไม่อ่อนน้อม ก้าวร้าว แข็งกร้าว ขัดแข็ง ดื้อรั้น พยศ ไม่เชื่อฟัง หัวดื้อ หัวรั้น
ประโยค
- ความกล้าหาญ ความอ่อนน้อมถ่อมตัวของท่าน ข้าเคยเห็นมาตั้งแต่ครั้งท่านยังเด็ก