เลนส์นูนข้างเว้าข้าง คือ
"เลนส์นูนข้างเว้าข้าง" อังกฤษ
- สิ่งที่มีรูปร่างเหมือนพระจันทร์เสี้ยว
- เลน น. ดินเปียกเหลวจนปั้นไม่ได้ เช่น โกยเลนลอกท้องร่อง.
- เลนส์ น. วัตถุโปร่งใสซึ่งมีพื้นหน้าเป็นผิวนูนหรือเว้า โดยทั่วไปมักทำด้วยแก้ว มีสมบัติหักลำแสงที่ผ่านไปให้ลู่เข้าหรือถ่างออกได้; ( แพทย์ ) แก้วตา. ( อ.
- เลนส์นูน น. เลนส์ที่มีพื้นหน้าโค้งนูนตรงกลางหนามากกว่าตอนริม มีสมบัติหักลำแสงที่ผ่านไปให้ลู่เข้า, เลนส์ตีบแสง ก็เรียก. ( อ. convex lens).
- ลน ก. อังไฟเพื่อให้ร้อนแต่ผิว ๆ หรือให้อ่อนเป็นต้น เช่น เอาขี้ผึ้งลนไฟ เอาไม้ลนไฟให้อ่อน; วิ่ง, อยู่นิ่งไม่ได้, มักใช้ประกอบคำอื่นว่า ลนลาน ลุกลน
- นูน ว. สูงขึ้นจากระดับพื้นเดิม ในลักษณะอย่างหนังสือตัวนูน ลวดลายนูน, มีเส้นรูปนอกหรือพื้นราบโค้งออกไป.
- นข นะขะ- ( แบบ ) น. เล็บ, เล็บมือ, เล็บเท้า. ( ป. , ส. ).
- ข้า ๑ น. บ่าวไพร่, คนรับใช้. ๒ ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด พูดกับผู้ที่เสมอกันอย่างเป็นกันเองหรือผู้ใหญ่พูดกับผู้น้อย, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.
- ข้าง น. เบื้อง เช่น ข้างหน้า ข้างหลัง; ส่วน เช่น ข้างหัว ข้างท้าย; ฝ่าย เช่น ข้างไหน ข้างนี้; สีข้าง เช่น เอาข้างเข้าถู. บ. ใกล้, ริม, เช่น
- เว้ ก. เถลไถล.
- เว้า ๑ ( ถิ่น-อีสาน ) ก. พูด. ๒ ว. มีเส้นรูปนอกหรือพื้นราบโค้งหรือบุ๋มเข้าไป เช่น เสื้อแขนเว้า.
- ว้า ๑ อ. คำที่เปล่งออกมาเมื่อรู้สึกไม่พอใจหรือผิดจากที่คาดไว้เป็นต้น. ว. คำออกเสียงลงท้ายประโยคแสดงความสงสัยหรือปลอบใจเป็นต้น เช่น หายไปไหนว้า
- เลนส์เว้า น. เลนส์ที่มีพื้นหน้าโค้งเว้า ตรงกลางหนาน้อยกว่าตอนริม มีสมบัติหักลำแสงที่ผ่านไปให้ถ่างออก, เลนส์ถ่างแสง ก็เรียก. (อ. concave lens).
- ว่างเว้น ก. งด, เว้น, เช่น ว่างเว้นจากการเสพสุรายาเมา เขาเคยมาเสมอ แต่หมู่นี้ว่างเว้นไป.
- ค่อนข้างเล็ก ปานกลาง พอประมาณ ไม่มากมาย ไม่ใหญ่โตโอ่อ่า
- เลนส์ถ่างแสง น. เลนส์เว้า.