เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

เสกข- คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • -ขะ-
    น. ผู้ยังต้องศึกษาอยู่, พระอริยบุคคลผู้ยังไม่บรรลุพระอรหัตผล. (ป.; ส. ไศกฺษ).
  • เส     ก. เฉ, ไถล, เช่น เสไปพูดเรื่องอื่น, เชือนแช เช่น เสความ.
  • เสก     ก. ร่ายมนตร์เพื่อทำให้ขลังหรือศักดิ์สิทธิ์ เช่น เสกน้ำล้างหน้า เสกแป้งผัดหน้า, ร่ายมนตร์เพื่อทำให้สิ่งหนึ่งกลายเป็นอีกสิ่งหนึ่ง เช่น
  • เสกข     -ขะ- น. ผู้ยังต้องศึกษาอยู่, พระอริยบุคคลผู้ยังไม่บรรลุพระอรหัตผล. ( ป. ; ส. ไศกฺษ).
  • สก     สะกะ- ว. ของตน. ( ป. ; ส. สฺวก). ๒ น. ผม. ( ข. สก่). ๓ ( โบ ) ก. สะเด็ดน้ำ เช่น เอาข้าวที่ซาวน้ำแล้วใส่ในตะแกรงเพื่อให้น้ำแห้ง
  • อเสกข    อะเสกขะ- น. ผู้ที่ไม่ต้องศึกษาอีก หมายถึง พระอรหันต์. (ป.).
  • อเสกข-    อะเสกขะ- น. ผู้ที่ไม่ต้องศึกษาอีก หมายถึง พระอรหันต์. (ป.).
  • เสกขะ    -ขะ- น. ผู้ยังต้องศึกษาอยู่, พระอริยบุคคลผู้ยังไม่บรรลุพระอรหัตผล. (ป.; ส. ไศกฺษ).
  • อเสกขะ    อะเสกขะ- น. ผู้ที่ไม่ต้องศึกษาอีก หมายถึง พระอรหันต์. (ป.).
  • อเสกขบุคคล    อะเสขะ-, อะเสกขะ- น. ผู้ที่ไม่ต้องศึกษาอีก หมายถึง พระอรหันต์.
  • เสกขบุคคล    น. ผู้ที่ยังต้องศึกษาอยู่ หมายถึง พระอริยะที่ยังไม่บรรลุพระอรหัตผล. (ป.).
  • เสกของเข้าตัว    เสกของเข้าท้อง
  • เสกของเข้าท้อง    เสกของเข้าตัว
  • คำเสก    n. คำเสกเป่าที่ถือว่าศักดิ์สิทธิ์ ชื่อพ้อง: คาถาอาคม, มนต์, คาถา
  • คําเสก    คาถา คาถาอาคม มนต์ คําสาป
  • ปลุกเสก    ก. เสกให้ขลัง.