เสนาะ คือ
สัทอักษรสากล: [sa nǿ] การออกเสียง:
"เสนาะ" การใช้"เสนาะ" อังกฤษ"เสนาะ" จีน
ความหมายมือถือ
- ๑
สะเหฺนาะ
ว. น่าฟัง, เพราะ, เช่น เพลงนี้ไพเราะเสนาะหู; (กลอน) วังเวงใจ, เศร้าใจ, เช่น แถลงปางบำราศห้อง โหยครวญ เสนาะเสน่ห์กำสรวล สั่งแก้ว. (นิ. นรินทร์ ). (ข. สฺรโณะ ว่า นึกสังเวช สงสาร วังเวงใจ อาลัยถึง).
๒สะเหฺนาะ
น. เสื้อชนิดหนึ่ง เช่น บ้างสวมใส่เสนาะเกราะพราย. (ขุนช้างขุนแผน ).
- เส ก. เฉ, ไถล, เช่น เสไปพูดเรื่องอื่น, เชือนแช เช่น เสความ.
- เสน น. เสนา, กองทหาร, หมู่ทหาร. ( ป. , ส. เสนา). ๑ น. สารประกอบประเภทออกไซด์ของตะกั่ว มีสูตร Pb 3 O 4 ลักษณะเป็นผงละเอียด สีแดงเข้ม
- เสนา ๑ เส-นา น. ไพร่พล. ( ป. , ส. ). ๒ เส-นา น. วัดนา, ตรวจสอบที่นา, แสนา ก็ว่า. ( เทียบ ข. แสฺร = นา).
- สน ๑ น. ชื่อไม้ต้นหลายชนิดหลายสกุลในหลายวงศ์ เช่น สนสองใบ หรือ เกี๊ยะเปลือกหนา ( Pinus merkusii Jungh. de Vriese), สนสามใบ หรือ เกี๊ยะเปลือกบาง (
- นา ๑ น. พื้นที่ราบทำเป็นคันกั้นน้ำเป็นแปลง ๆ สำหรับปลูกข้าวเป็นต้น, พื้นที่มีลักษณะคล้ายนาสำหรับทำประโยชน์อื่น ๆ เรียกตามสิ่งที่ทำ เช่น นาเกลือ
- เสนาะหู เพราะพริ้ง ไพเราะ น่าฟัง รื่นหู เข้ากันได้
- แสนเสนาะ -สะเหฺนาะ น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง.
- ทำนองเสนาะ น. วิธีการอ่านออกเสียงอย่างไพเราะตามลีลาของบทร้อยกรองประเภทโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน.
- ความไพเราะเสนาะหู ความเพราะ ความไพเราะ ความไพเราะเพราะพริ้ง
- หมู่เสนา พยุหเสนา พยุหแสนยา พยุหแสนยากร
- เสนานี น. ผู้นำทัพ. (ป., ส.).
- เสนาสนะ เส-นาสะ- น. ที่นอนและที่นั่ง, ที่อยู่. (ใช้เฉพาะพระภิกษุ สามเณร). (ป. เสน + อาสน).
- พยุหเสนา น. หมู่เสนา. (ป. พฺยูห + เสนา; ส. วฺยูห + ไสนฺย, วฺยูห + ไสนฺย + อากร).
- เสนากุฎ เส-นากุด น. เสื้อทหารสมัยโบราณ พิมพ์เป็นลายสี รูปสิงห์ขบที่หน้าอกและต้นแขน สำหรับแต่งเข้ากระบวนแห่ของหลวง.
- เสนางค์ เส-นาง, -คะนิกอน น. ส่วนแห่งกองทัพโบราณมี ๔ ส่วน คือ พลช้าง พลม้า พลรถ และพลเดินเท้า. (ป.).