เหียง คือ
"เหียง" การใช้"เหียง" อังกฤษ
- น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq. ในวงศ์ Dipterocarpaceae เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง.
- เห ก. เบนไป เช่น เหหัวเรือ, เขว เช่น เขาเหไปเข้าข้างศัตรู, เฉ เช่น รถยนต์เหออกนอกทาง.
- หี น. อวัยวะสืบพันธุ์ของหญิงหรือสัตว์เพศเมียบางชนิด.
- ยง ๑ ว. อร่ามเรือง, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น โฉมยง ยุพยง. ๒ ว. ยั่งยืน, มั่นคง, คงทน, ยืนนาน, เช่น อยู่ยงคงกระพัน ยืนยง. ๓ ว. กล้าหาญ
- จำเหียง ก. โค้งงอน เช่น งาเจียงจำเหียงแข. (ยวนพ่าย). (แผลงมาจาก เฉียง). (ข. จํเหียง ว่า ซีก, เสี้ยว).
- เหนียง เหฺนียง น. เนื้อหรือหนังที่ห้อยอยู่บริเวณคอของสัตว์บางชนิด เช่น ไก่ นก วัว, โดยปริยายหมายถึงเนื้อที่ห้อยอยู่ตรงลำคอใต้คางของคนแก่ ในความว่า แก่จนเหนียงยาน; สายป่านที่ผูกยาวห้อยเป็นบ่วงจากสายซุงว่าวป
- เหนี่ยง เหฺนี่ยง น. ชื่อด้วงปีกแข็งชนิด Hydrophilus bilineatus ในวงศ์ Hydrophilidae ลำตัวรูปไข่ แบนเล็กน้อย ตัวยาวประมาณ ๓.๕ เซนติเมตร กว้างประมาณ ๑.๕ เซนติเมตร สีดำตลอดตัว มีหนามแหลมที่ด้านล่างของอกยาวยื่น
- เหยง เหฺยง ว. อาการที่ทำซ้ำ ๆ อย่างเร็ว เช่น ขุดดินเหยง ด่าเหยง ๆ, (ปาก) ใช้ว่า เหย็ง หรือ เหย็ง ๆ ก็มี.
- เหยง ๆ เหฺยง ว. อาการที่ทำซ้ำ ๆ อย่างเร็ว เช่น ขุดดินเหยง ด่าเหยง ๆ, (ปาก) ใช้ว่า เหย็ง หรือ เหย็ง ๆ ก็มี.
- เหวี่ยง เหฺวี่ยง ก. ซัดเบี่ยงไป.
- โหยงเหยง เหยง โหยง
- กะเหรี่ยง น. ชื่อชนชาวเขาเผ่าหนึ่ง ปรกติอาศัยอยู่ทางพรมแดนทิศตะวันตกของประเทศไทย, โซ่ ก็เรียก, (โบ) เรียกว่า กั้ง ก็มี.
- ข้อเหวี่ยง น. ส่วนที่ต่อเพลา โดยมากมีลักษณะงอ สำหรับรับกำลังดันหรือกำลังฉุดให้เพลาหมุนรอบ ๆ, ภาษาปากว่า ข้อเสือ. (อ. crank).
- ผักเหมียง gnetum gnemon
- มเหยงค์ มะเห-ยง น. ภูเขา, เนินดิน. (ป. มหิยงฺคณ).
- วัดเหวี่ยง ก. พอสู้กันได้, ปานกัน.
ประโยค
- ส่งเสริมสุขภาพ สำหรับนักเรียนด้อยโอกาสชาวเขา ที่ทางวัดทุ่งเหียงโดยการจัดอาหารกลางวัน