เห็นอ้ม คือ
- (ถิ่น-อีสาน) น. ชะมด. (ดู ชะมด ๑).
- เห ก. เบนไป เช่น เหหัวเรือ, เขว เช่น เขาเหไปเข้าข้างศัตรู, เฉ เช่น รถยนต์เหออกนอกทาง.
- เห็น ก. อาการของตาที่ประสบรูป, ปรากฏแก่ตา, ปรากฏแก่ใจ, คิดรู้.
- นอ ๑ น. สิ่งที่งอกขึ้นเหนือจมูกแรด ยาวประมาณ ๑๒-๑๕ เซนติเมตร แข็งเหมือนเขาสัตว์; ปมที่นูนขึ้นตามอวัยวะเช่นที่ข้อศอกที่ศีรษะ. ( กลอน ) ก. โน เช่น
- อ้ม ( ถิ่น-อีสาน ) น. ต้นเนียม. [ ดู เนียม ๑ (๒) ].
- มีกลิ่นเหม็นอับ เหม็นตุ ๆ เหม็นอับ
- มีความเห็นอกเห็นใจ มีความเมตตากรุณา มีความสงสาร มีความเวทนา
- เหิม ว. กำเริบ, ลำพองใจ, มักใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น เหิมเกริม เหิมหาญ เหิมห้าว เหิมฮึก.
- เห่อเหิม ว. มีใจกำเริบทะเยอทะยาน, เหิมเห่อ ก็ว่า.
- คนที่มีชื่อเหมือนกับคนอื่น คนที่ถูกตั้งชื่อเหมือนกับคนอื่น
- ที่มีรูปร่างเหมือนหนอน ซึ่งคดเคี้ยวไปมา
- ผู้มีชื่อเหมือนของคนอื่น ผู้ที่มีชื่อเหมือนกัน
- เหนอะ เหฺนอะ- ว. มีลักษณะเหนียวติดมือ เช่น ข้าวติดมือเหนียวเหนอะหนะ, โดยปริยายหมายถึงอาการที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เหงื่อไหลจนรู้สึกว่าตัวเหนียวเหนอะหนะไปหมด.
- เหม็นอับ ซึ่งมีกลิ่นหืนเพราะขึ้นรา ซึ่งมีกลิ่นเหม็นสาบ อับ อับชื้น มีกลิ่นเหม็นอับ เหม็นตุ ๆ เหม็น เหม็นสาบ เหม็นชื้น
- เห็นอยู่ เห็นบ่อยๆ เห็นเป็นประจํา
- เห็นอกเห็นใจ v. ซาบซึ้งถึงจิตใจ ชื่อพ้อง: เห็นใจ คำตรงข้าม: เห็นแก่ตัว ตัวอย่างการใช้: หนุ่มสาวที่รักกัน เห็นอกเห็นใจกันอย่างซาบซึ้งแล้ว ก็ย่อมอยากมีพิธีสมรสให้สังคมรับรู้