เอาไม้ซีกไปงัดไม้ซุง คือ
- (สำ) ก. คัดค้านผู้ใหญ่ ผู้มีฐานะสูงกว่า หรือผู้มีอำนาจมากกว่าย่อมไม่สำเร็จ และอาจได้รับผลร้ายแก่ตัวอีกด้วย.
- เอ ๑ ว. หนึ่ง; เปลี่ยว, เดี่ยว, เช่น เอองค์. ( ตัดมาจาก เอก). ๒ อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความแปลกใจ สงสัย เป็นต้น.
- เอา ๑ ก. ยึด เช่น เอาไว้อยู่; รับไว้ เช่น เขาให้ก็เอา; พา, นำ, เช่น เอาตัวมา; ต้องการ เช่น ทำเอาชื่อ ทำงานเอาหน้า; ถือเป็นสำคัญ เช่น เจรจาเอาถ้อยคำ
- อา ๑ น. น้องของพ่อ, ( โบ ) เขียนเป็น อาว์ ก็มี. (อีสาน อา ว่า น้องสาวของพ่อ, อาว ว่า น้องชายของพ่อ). ๒ ( กลอน ) ว.
- ไม้ ๑ น. คำรวมเรียกพืชทั่วไป โดยปรกติมีราก ลำต้น กิ่ง ก้าน และใบ, เรียกเนื้อของต้นไม้ที่ใช้ทำสิ่งของต่าง ๆ มีลักษณะเป็นท่อน แผ่น หรือดุ้น เป็นต้น,
- ไม้ซีก ไม้กระดาน ไม้ระแนง แผ่นกระดาน ซุงไม้เลื่อย เศษเหลือไม้ ไม้ชิ้นเล็ก ไม้ทําขั้นบันได ไม้ชิ้นบางๆ
- ซี คำประกอบท้ายคำอื่นเพื่อเสริมข้อความให้เด่น ให้ชัด หรือให้สละสลวยเป็นต้น, โดยมากใช้กับกริยาเป็นเชิงบังคับ เชิงชวน หรือรับคำเป็นต้น เช่น ไปซิ มาซิ
- ซีก น. ส่วนที่ผ่าครึ่ง, ส่วนของสิ่งบางอย่างเช่นไม้ไผ่หรือแตงโมที่ผ่าออกโดยปรกติตามยาว, โดยปริยายหมายความว่า ด้าน, ส่วน, เช่น ร่างกายตายไปซีกหนึ่ง
- ไป ก. เคลื่อนออกจากที่, ใช้ตรงกันข้ามกับ มา, เป็นคำประกอบท้ายกริยาหมายความว่า เรื่อยไป, ไม่หยุด, เช่น ทำไป กินไป,
- ปง ๑ ว. เสียงดังเช่นนั้น. ๒ ( ถิ่น-พายัพ ) น. ที่ริมฝั่งน้ำ, ที่ลุ่มน้ำขัง, ป่ง หรือ โป่ง ก็ว่า.
- งัด ก. ทำให้เผยอหรือเคลื่อนที่โดยใช้วัตถุยาวคัด เช่น งัดตะปู งัดซุง; นำออกมาจากที่เก็บ เช่น งัดเอาเครื่องลายครามมาอวด,
- ไม้ซุง น. ต้นไม้ขนาดใหญ่ที่ตัดเป็นท่อน ๆ ก่อนแปรรูป.
- ซุง ๑ น. ต้นไม้ขนาดใหญ่ที่ตัดเป็นท่อน ๆ ก่อนแปรรูป. ๒ น. เชือกที่ใช้ปลายทั้ง ๒ ผูกกับอกว่าวห่างกันพอสมควรสำหรับต่อกับสายป่าน
- ซึ่งไม่เอาไหน ขี้เกียจ ซึ่งใช้การไม่ได้ ซึ่งไม่ได้เรื่อง ซึ่งไร้ประสิทธิภาพ
- หนักไม่เอา เบาไม่สู้ (สำ) ว. ไม่มีความอดทนที่จะทำการงาน.
- ซีกไม้ ปลาเล็ก ๆ ชิ้นหนึ่งใช้เป็นเหยื่อปลา สะเก็ดไม้ เศษเส้นใย เศษแผ่น เศษไม้ เสี้ยน แผ่นเล็กยาวบาง แผ่นแตก แผ่นไม้บาง ๆ