โหม่ คือ
"โหม่" การใช้
โหฺม่
(ปาก) ก. โผล่.
ว. โด่ เช่น นั่งหัวโหม่.
- โหม ๑ โหมะ- น. การเซ่นแก่เทพดาของพวกพราหมณ์โดยใช้เนยเผาในไฟ; การบูชายัญ, การเซ่นสรวงทั้งปวง. ( ป. , ส. ). ๒ โหมฺ ก. ระดม เช่น โหมกำลัง
- โหม- โหมะ- น. การเซ่นแก่เทพดาของพวกพราหมณ์โดยใช้เนยเผาในไฟ; การบูชายัญ, การเซ่นสรวงทั้งปวง. (ป., ส.).
- ผักโหม ดู ขม ๒ (๑).
- ลุกโหม ลุก ลุกโชน ลุกไหม้ เผาไหม้
- หยุดโหม ดับ หยุดกระพือ หยุดลุกไหม้
- หักโหม ก. ระดมเข้าไปด้วยกำลังให้แตกหัก, โหมหัก ก็ว่า; เอากำลังแรงเข้ามาหักเอา, ทำงานโดยไม่บันยะบันยัง.
- ฮึกโหม ก. ระดมเข้าไปด้วยความคะนอง, โหมฮึก ก็ว่า.
- โหมกูณฑ์ น. พิธีพราหมณ์เกี่ยวแก่การบูชาไฟ. (ส.).
- โหมด โหฺมด น. เรียกผ้าชนิดหนึ่งซึ่งเดิมทำด้วยกระดาษทองตัดเป็นเส้นเหมือนเส้นทอง แล้วทอกับไหม ต่อมาใช้กระดาษเงินกระดาษทองพันเส้นไหมทอกับไหมสี ว่า ผ้าโหมด.
- โหมพัด พูดหรือกระทำด้วยความเดือดดาล รีบเร่งไป ลุกลาม
- โหมหัก ก. ระดมเข้าไปด้วยกำลังให้แตกหัก, หักโหม ก็ว่า.
- โหมฮึก ก. ระดมเข้าไปด้วยความคะนอง, ฮึกโหม ก็ว่า.
- โหม่ง ๑ โหฺม่ง ก. เอาหัวรับหรือกระแทกลูกตะกร้อหรือฟุตบอลเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงอาการที่สิ่งหนึ่งตกลงมากระแทกพื้นอย่างแรง เช่น หัวโหม่งพื้นเครื่องบินโหม่งโลก. ๒ โหฺม่ง (ถิ่น-ปักษ์ใต้) น. ฆ้องคู่. ว. เสีย
- กระโหม -โหมฺ (กลอน) ก. โหม เช่น ศัพท์ส้าวกระโหมโครม. (บุณโณวาท).
- กลาโหม กะลาโหมฺ น. ชื่อกรมที่ปกครองหัวเมืองฝ่ายใต้ในสมัยโบราณ มีสมุหพระกลาโหมเป็นประธาน; ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการป้องกันและรักษาความมั่นคงของราชอาณาจักรจากภัยคุกคามทั้งภายนอกและภายในประเทศ;
ประโยค
- มิชชั่นของเข้านี้คือโหม่งลูกน้ำเต้าให้แตกด้วยหัว
- เพราะนายโหม่งบอลใส่หัว คุณเลยต้องกลับบ้านพร้อมเธอ
- เขาก็ำทำมันราวกับว่าเป็นการแข่งขันโหม่งชิงแชมป์โลก !
- แต่แน่นอน สุดท้ายเครื่องร่อนนี้ก็ต้องโหม่งพื้นจนได้
- เคิร์กเรียกเอ็นเตอร์ไพรส์ เรากำลังโหม่งโลก เราไม่มีร่ม
- กระโดดโหม่งๆโล่งเลยครับ แต่บอลเลยเสาออกไป
- ตอนที่ลูกโหม่งบอลทำประตูได้โดยไม่รู้ตัว
- หรืออยู่บนเครื่องบินที่กำลังโหม่งโลกน่ะ
- จะเอาเครื่องบินโหม่งโลกเมื่อไหร่ก็ได้ ดังนั้น ไม่ เอริก้า
- อยู่ในเครื่อง ไหม้ไปจนกว่าจะโหม่งโลก
- ตัวอย่างการใช้เพิ่มเติม: 1 2 3 4