โอฆ คือ
"โอฆ" การใช้
โอคะ-
น. ห้วงน้ำ; ในพระพุทธศาสนาหมายถึงกิเลสที่ท่วมทับจิตใจของหมู่สัตว์ มี ๔ อย่าง คือ
๑. กาโมฆะ = โอฆะ คือ กาม
๒. ภโวฆะ = โอฆะ คือ ภพ
๓. ทิฏโฐฆะ = โอฆะ คือ ทิฐิ
๔. อวิชโชฆะ = โอฆะ คือ อวิชชา. (ป., ส.).
- โอ ๑ น. (๑) ส้มโอ. ( ดู ส้ม ๑ ). (๒) ชื่อลูกจันชนิดหนึ่ง. ( ดู จัน ). ๒ น. ชื่อปลาทะเลขนาดใหญ่หลายชนิดในวงศ์ Thunnidae อยู่เป็นฝูงห่างฝั่ง
- โอฆ- โอคะ- น. ห้วงน้ำ; ในพระพุทธศาสนาหมายถึงกิเลสที่ท่วมทับจิตใจของหมู่สัตว์ มี ๔ อย่าง คือ ๑. กาโมฆะ = โอฆะ คือ กาม ๒. ภโวฆะ = โอฆะ คือ ภพ ๓. ทิฏโฐฆะ = โอฆะ คือ ทิฐิ ๔. อวิชโชฆะ = โอฆะ คือ อวิชชา. (
- โอฆชล -ชน น. น้ำในห้วงลึก. (ป.).
- โอฆะ โอคะ- น. ห้วงน้ำ; ในพระพุทธศาสนาหมายถึงกิเลสที่ท่วมทับจิตใจของหมู่สัตว์ มี ๔ อย่าง คือ ๑. กาโมฆะ = โอฆะ คือ กาม ๒. ภโวฆะ = โอฆะ คือ ภพ ๓. ทิฏโฐฆะ = โอฆะ คือ ทิฐิ ๔. อวิชโชฆะ = โอฆะ คือ อวิชชา. (
- โอฆสงสาร น. การเวียนเกิดเวียนตายในห้วงของกิเลส. (ป.).
- อฆะ ๑ อะคะ น. ความชั่ว, บาป, ความทุกข์ร้อน. (ป., ส.). ๒ อะคะ น. อากาศ, ฟ้า. (ป.).
- โอ่ ๑ น. ชื่อเรือต่อชนิดหนึ่ง คล้ายเรือสำปั้น แต่มีขนาดเล็กและเพรียวกว่า ล่มง่าย ผู้ชำนาญจึงจะพายได้. ๒ ก. อวด, ชอบแต่งตัวอวด. ๓ ว. กลิ่นเหม็นอย่างกลิ่นอาหารที่ใกล้จะบูด.
- โอ้ ๑ (กลอน) อ. คำในคำประพันธ์ ใช้ในความรำพึง พรรณนา วิงวอน หรือปลอบ เป็นต้น เช่น โอ้พ่อพลายสายสวาทของน้องเอ๋ย ไม่เคยเลยจะห่างเหเสนหา. (ขุนช้างขุนแผน), โอ้ว่า ก็ใช้ เช่น โอ้ว่าน่าเสียดายตัวนัก เพราะเชื่
- โอ๋ อ. คำที่เปล่งออกมาเป็นเสียงเช่นนั้นเพื่อปลอบเด็ก. ก. ตามใจ, เอาอกเอาใจ.
- สิ่งบันเทิงที่ทําเพื่อฆ่าเวลา งานอดิเรก
- ขี้โอ่ adj. ที่ชอบพูดยกตนหรือพูดโอ้อวด , ชื่อพ้อง: ขี้อวด, ขี้คุย, ขี้โว, ขี้โม้ ตัวอย่างการใช้: คนขี้โอ่คุยกับใครก็มีแต่คนรำคาญ
- ซีโอ โคบอลท์
- ทรีโอ คณะสามคน กลุ่มสามคน บทเพลงกลุ่มสาม
- โอก (โบ) ก. ออก.
- โอฐ (โบ) น. โอษฐ์, ริมฝีปาก; ปาก. (ป. โอฏฺ; ส. โอษฺ).
ประโยค
- เขาถ่ายวิดีโอฆาตกรรมแม่ไว้ แล้วซ่อนมาตั้งหลายปี
- เดี๋ยว ติโอฆ่าใครบางคน ที่มีความใกล้ชิดกับกัสงั้นเหรอ
- และวิดีโอฆาตกรรมออนไลน์ก็เกิดขึ้นอีกครั้ง
- โรมิโอฆ่าไทบอล์ท อ่าวสุกร