เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

โอ่ คือ

สัทอักษรสากล: [ō]  การออกเสียง:
"โอ่" การใช้"โอ่" อังกฤษ"โอ่" จีน
ความหมายมือถือ

  • น. ชื่อเรือต่อชนิดหนึ่ง คล้ายเรือสำปั้น แต่มีขนาดเล็กและเพรียวกว่า ล่มง่าย ผู้ชำนาญจึงจะพายได้.

    ก. อวด, ชอบแต่งตัวอวด.

    ว. กลิ่นเหม็นอย่างกลิ่นอาหารที่ใกล้จะบูด.
  • โอ     ๑ น. (๑) ส้มโอ. ( ดู ส้ม ๑ ). (๒) ชื่อลูกจันชนิดหนึ่ง. ( ดู จัน ). ๒ น. ชื่อปลาทะเลขนาดใหญ่หลายชนิดในวงศ์ Thunnidae อยู่เป็นฝูงห่างฝั่ง
  • โอ้    ๑ (กลอน) อ. คำในคำประพันธ์ ใช้ในความรำพึง พรรณนา วิงวอน หรือปลอบ เป็นต้น เช่น โอ้พ่อพลายสายสวาทของน้องเอ๋ย ไม่เคยเลยจะห่างเหเสนหา. (ขุนช้างขุนแผน), โอ้ว่า ก็ใช้ เช่น โอ้ว่าน่าเสียดายตัวนัก เพราะเชื่
  • โอ๋    อ. คำที่เปล่งออกมาเป็นเสียงเช่นนั้นเพื่อปลอบเด็ก. ก. ตามใจ, เอาอกเอาใจ.
  • ขี้โอ่    adj. ที่ชอบพูดยกตนหรือพูดโอ้อวด , ชื่อพ้อง: ขี้อวด, ขี้คุย, ขี้โว, ขี้โม้ ตัวอย่างการใช้: คนขี้โอ่คุยกับใครก็มีแต่คนรำคาญ
  • ซีโอ    โคบอลท์
  • ทรีโอ    คณะสามคน กลุ่มสามคน บทเพลงกลุ่มสาม
  • โอก    (โบ) ก. ออก.
  • โอฆ    โอคะ- น. ห้วงน้ำ; ในพระพุทธศาสนาหมายถึงกิเลสที่ท่วมทับจิตใจของหมู่สัตว์ มี ๔ อย่าง คือ ๑. กาโมฆะ = โอฆะ คือ กาม ๒. ภโวฆะ = โอฆะ คือ ภพ ๓. ทิฏโฐฆะ = โอฆะ คือ ทิฐิ ๔. อวิชโชฆะ = โอฆะ คือ อวิชชา. (
  • โอฆ-    โอคะ- น. ห้วงน้ำ; ในพระพุทธศาสนาหมายถึงกิเลสที่ท่วมทับจิตใจของหมู่สัตว์ มี ๔ อย่าง คือ ๑. กาโมฆะ = โอฆะ คือ กาม ๒. ภโวฆะ = โอฆะ คือ ภพ ๓. ทิฏโฐฆะ = โอฆะ คือ ทิฐิ ๔. อวิชโชฆะ = โอฆะ คือ อวิชชา. (
  • โอฐ    (โบ) น. โอษฐ์, ริมฝีปาก; ปาก. (ป. โอฏฺ; ส. โอษฺ).
  • โอด    น. ชื่อเพลงสำหรับใช้เป็นหน้าพาทย์บรรเลงประกอบกิริยาร้องไห้ สลบหรือตาย; วิธีดำเนินทำนองเพลงไทยอย่างหนึ่ง ซึ่งดำเนินไปโดยแช่มช้าโหยหวน และโศกซึ้ง. ก. ร้องไห้.
  • โอที    ล่วงเวลา งานล่วงเวลา
  • โอน    ก. น้อมลง, โน้ม; ยกไปไว้อีกที่หนึ่ง เช่น โอนบัญชี; ยอมมอบให้; ย้ายสังกัด; (กฎ) ทำให้สิทธิตกไปเป็นของบุคคลอื่น เช่น โอนกรรมสิทธิ์.
  • โอบ    ก. เอาแขนอ้อมไว้ เช่น โอบไหล่, เอาแขนทั้ง ๒ อ้อมไว้ เช่น โอบต้นไม้ โอบกอด, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น รากไทรโอบรอบเจดีย์เก่า; ตีวงล้อม เช่น เคลื่อนพลเข้าไปโอบกองทัพข้าศึก.
  • โอม    น. คำที่ประกอบด้วยเสียง ๓ เสียง คือ อ อุ ม [อ่านว่า อะ อุ มะ] รวมกัน ข้างฝ่ายฮินดูหมายถึง พระเจ้าทั้ง ๓ คือ อ = พระศิวะ อุ = พระวิษณุ ม = พระพรหม; ข้างพระพุทธศาสนาเลียนเอามาใช้หมายถึง พระรัตนตรัย คื
ประโยค
  • โอ่ว ไม่เอาน่า เขาถ่ายรูปตอนที่ผมฉี่อยู่งั้นเหรอ
  • หยุดเรียกฉันว่า ตาแก่น่ะ ไอ้ขี้โอ่ ฉันไม่ใช่คนแก่
  • โอ่ ข้าเวียนหัว ท่านพี่ ท่นจะนั่งลงซะทีไม่ได้เหรอ ?
  • โอ่ว คุณเก็บไว้อย่างนี้ เพื่อยิงตัวเองตายงั้นเหรอ
  • ฉันเองแค่คึดว่า โอ่วดีจังค่ะ สามีของฉันจ้างนักสืบ
  • เพื่อทำให้ไอ้ขี่โอ่ที่เธอเพิ่งรู้จักประทับใจเหรอ
  • โอ่ย ไม่ใช่ที่สำหรับนักสืบสมัครเล่นอย่างนายนะ
  • และเป็นความสนุกสนานใน ขณะที่มันคือการดูขี้โอ่
  • ฉันจะส่งหายนะไปให้ โอ่ มยอง กยู ที่มันฆ่าแม่ของโซมี
  • โลล่า โรด นักแสดงอยากเป๊นอยากเป็น ได้คุยโอ่ว่า
  • ตัวอย่างการใช้เพิ่มเติม:  1  2  3  4  5