โอษฐ์ คือ
สัทอักษรสากล: [ōt] การออกเสียง:
"โอษฐ์" การใช้"โอษฐ์" อังกฤษ"โอษฐ์" จีน
ความหมายมือถือ
โอดถะ-, โอด
น. ริมฝีปาก ในคำว่า โอษฐชะ; ปาก เช่น เอื้อนโอษฐ์. (ส.; ป. โอฏฺ).
- โอ ๑ น. (๑) ส้มโอ. ( ดู ส้ม ๑ ). (๒) ชื่อลูกจันชนิดหนึ่ง. ( ดู จัน ). ๒ น. ชื่อปลาทะเลขนาดใหญ่หลายชนิดในวงศ์ Thunnidae อยู่เป็นฝูงห่างฝั่ง
- โอษฐ โอดถะ-, โอด น. ริมฝีปาก ในคำว่า โอษฐชะ; ปาก เช่น เอื้อนโอษฐ์. ( ส. ; ป. โอฏฺ).
- โอษฐ- โอดถะ-, โอด น. ริมฝีปาก ในคำว่า โอษฐชะ; ปาก เช่น เอื้อนโอษฐ์. (ส.; ป. โอฏฺ).
- โอษฐชะ (ไว) น. อักษรในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงเกิดจากริมฝีปาก ได้แก่พยัญชนะวรรค ป คือ ป ผ พ ภ ม และอักษร ว กับสระอุ อู. (ป. โอฏฺช; ส. โอษฺฐฺย).
- โอษฐภัย น. ภัยที่เกิดจากคำพูด.
- พระโอษฐ์ ปาก โอษฐ์
- โอษฐกาม ออรัลเซ็กส์ การทำรักด้วยปาก การมีเพศสัมพันธ์ทางปาก
- บ้วนพระโอษฐ์ (ราชา) น. กระโถน.
- เบิกพระโอษฐ์ (ราชา) น. พิธีป้อนน้ำโดยใช้ช้อนทองคำตักน้ำพระมหาสังข์ใส่พระโอษฐ์พระราชกุมารหรือพระราชกุมารีเป็นครั้งแรกในพระราชพิธีสมโภช ๓ วัน.
- แย้มพระโอษฐ์ ยิ้ม
- นางสนองพระโอษฐ์ น. คุณพนักงานหญิงที่แต่งงานแล้ว มีหน้าที่รับพระราชเสาวนีย์ไปปฏิบัติหรือเชิญพระราชเสาวนีย์ไปติดต่อข้อราชการตามพระราชประสงค์ของพระราชินี.
- ขอษมา ก. ขอขมา.
- โอ่ ๑ น. ชื่อเรือต่อชนิดหนึ่ง คล้ายเรือสำปั้น แต่มีขนาดเล็กและเพรียวกว่า ล่มง่าย ผู้ชำนาญจึงจะพายได้. ๒ ก. อวด, ชอบแต่งตัวอวด. ๓ ว. กลิ่นเหม็นอย่างกลิ่นอาหารที่ใกล้จะบูด.
- โอ้ ๑ (กลอน) อ. คำในคำประพันธ์ ใช้ในความรำพึง พรรณนา วิงวอน หรือปลอบ เป็นต้น เช่น โอ้พ่อพลายสายสวาทของน้องเอ๋ย ไม่เคยเลยจะห่างเหเสนหา. (ขุนช้างขุนแผน), โอ้ว่า ก็ใช้ เช่น โอ้ว่าน่าเสียดายตัวนัก เพราะเชื่
- โอ๋ อ. คำที่เปล่งออกมาเป็นเสียงเช่นนั้นเพื่อปลอบเด็ก. ก. ตามใจ, เอาอกเอาใจ.
ประโยค
- นางสนองพระโอษฐ์คนใหม่ และพี่สาวของนาง แอนน์
- โอษฐ์ท่านจะยุติ สิ่งที่ปลายนิ้วท่านริเริ่ม
- ดูเหมือนว่านี่ไม่ค่อยจะถูก พระโอษฐ์เท่าไร
- และพระองค์ทรงเอ่ยพระโอษฐ์ตรัสสอนเขาว่า
- เจ้าน่าจะเป็นนางสนองพระโอษฐ์แม่ข้า
- เขาจะยอมทำงานสนองพระโอษฐ์พะยะค่ะ
- นางสนองพระโอษฐ์ของ ยอวังพเยฮาน่ะ
- เมื่อคืน ฝ่าบาทเริ่มพระโอษฐ์สั่น
- อาหารเอมโอษฐ์ให้อาหารตาแก่สาว ๆ
- ได้โปรดอ้าพระโอษฐ์ด้วยพะยะค่ะ