กระเตี้ยม คือ
- ใช้เข้าคู่กับคำ กระต้วม เป็น กระต้วมกระเตี้ยม.
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กระ ๑ น. ชื่อเต่าทะเลชนิด Eretmochelys imbricata ในวงศ์ Cheloniidae หลังเป็นเกล็ดแผ่นโต ๆ
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- เต ( แบบ ) ว. สาม, ใช้เติมหน้าศัพท์สังขยาเป็นเศษจำนวนเต็ม เช่น เตรสมสุรทิน = วันที่ ๑๓, เตรสีดิถี = วัน ๑๓ ค่ำ, เตวีสติมสุรทิน = วันที่ ๒๓,
- เตี้ย ว. มีรูปร่างต่ำกว่าปรกติ.
- ตี ก. เอามือหรือไม้เป็นต้นฟาดหรือเข่นลงไป เช่น ตีเด็ก ตีดาบ, ตบเบา ๆ เช่น นอนตีพุง; บุให้เข้ารูป เช่น ตีขัน ตีบาตร; แผ่ให้แบน เช่น ตีทอง;
- ยม ๑ ก. ร้องไห้. ( ข. ). ๒ ยม, ยมมะ- น. เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ประจำโลกของคนตาย; ชื่อดาวเคราะห์ดวงที่ ๙ ในระบบสุริยะ มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า
- -กระเตี้ยม ใช้เข้าคู่กับคำ กระต้วม เป็น กระต้วมกระเตี้ยม.
- กระต้วมกระเตี้ยม ว. อาการที่ค่อย ๆ เคลื่อนไหวหรือเคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ (ใช้แก่กิริยาเดินหรือคลาน), ต้วมเตี้ยม ก็ว่า, ใช้ว่า กระด้วมกระเดี้ยม ก็มี.
- -กระเดียม ใช้เข้าคู่กับคำ กระดี้ เป็น กระดี้กระเดียม.
- -กระเดี้ยม ใช้เข้าคู่กับคำ กระด้วม เป็น กระด้วมกระเดี้ยม.
- กระเดียม ใช้เข้าคู่กับคำ กระดี้ เป็น กระดี้กระเดียม.
- กระเดี้ยม ใช้เข้าคู่กับคำ กระด้วม เป็น กระด้วมกระเดี้ยม.
- กระเทียม น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Allium sativum L. ในวงศ์ Alliaceae คล้ายต้นหอม หัวเป็นกลีบ ๆ เมื่อแห้งสีขาว กลิ่นฉุน รสเผ็ดร้อน ใช้ปรุงอาหาร, พายัพเรียก หอมเตียม, อีสานเรียก หอมขาว, ปักษ์ใต้เรียก เทียม.
- ตระเตรียม ตฺระเตฺรียม ก. จัดแจงไว้ให้เรียบร้อย, โบราณใช้ว่า กระเกรียม.