กระเหน็จ คือ
"กระเหน็จ" อังกฤษ
- (โบ) น. วิธี, อย่าง, อุบาย, เช่น กลกระเหน็จต่าง ๆ. (ม. คำหลวง นครกัณฑ์).
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กระ ๑ น. ชื่อเต่าทะเลชนิด Eretmochelys imbricata ในวงศ์ Cheloniidae หลังเป็นเกล็ดแผ่นโต ๆ
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- เห ก. เบนไป เช่น เหหัวเรือ, เขว เช่น เขาเหไปเข้าข้างศัตรู, เฉ เช่น รถยนต์เหออกนอกทาง.
- หน น. ทาง, ทิศ, เช่น หนเหนือ หนใต้; ครั้ง, คราว, เช่น กี่หน; ที่, สถานที่, เช่น ถึงยามค่ำน้ำค้างลงพร่างพร้อย น้องจะลอยลมบนไปหนใด. (นิราศอิเหนา),
- กระเหนียด ๑ -เหฺนียด ก. เสียด. ๒ -เหฺนียด ดู เสนียด ๑.
- ระเห็จ ก. ไปอยู่ในที่ที่ไม่สมควร เช่น ระเห็จขึ้นไปอยู่บนยอดไม้.
- กระเบนเหน็บ น. ส่วนของร่างกายด้านหลังระดับบั้นเอว ตรงที่เหน็บชายกระเบน.
- กระเหน็จกระแหน่ (โบ) น. เชิงชั้น, เล่ห์กล, เช่น กระเหน็จกระแหน่รณรงค์. (สมุทรโฆษ).
- ระเหหน ว. ซัดเซไปตามบุญตามกรรม, ไม่เป็นที่เป็นทาง, เร่ร่อนไป, อยู่ไม่เป็นที่, เช่น ผู้ลี้ภัยสงครามต้องระเหระหนไปเรื่อย ๆ.
- กระเหิม ว. เหิม, กำเริบ, คะนอง.
- กระเห็น น. อีเห็น เช่น กระเห็นเห็นกันแล้ววิ่งมา. (รามเกียรติ์ ร. ๑).
- กระเห่อ ก. เห่อ เช่น คนห่ามกระเห่อทำ อวดรู้. (พระนลคำหลวง อารัมภกถา).
- ระเหระหน ว. ซัดเซไปตามบุญตามกรรม, ไม่เป็นที่เป็นทาง, เร่ร่อนไป, อยู่ไม่เป็นที่, เช่น ผู้ลี้ภัยสงครามต้องระเหระหนไปเรื่อย ๆ.
- ใช้จ่ายอย่างกระเหม็ดกระแหม่ ประหยัด