กระเหน็จกระแหน่ คือ
"กระเหน็จกระแหน่" อังกฤษ
- (โบ) น. เชิงชั้น, เล่ห์กล, เช่น กระเหน็จกระแหน่รณรงค์. (สมุทรโฆษ).
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กระ ๑ น. ชื่อเต่าทะเลชนิด Eretmochelys imbricata ในวงศ์ Cheloniidae หลังเป็นเกล็ดแผ่นโต ๆ
- กระเหน็จ ( โบ ) น. วิธี, อย่าง, อุบาย, เช่น กลกระเหน็จต่าง ๆ. ( ม. คำหลวง นครกัณฑ์).
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- เห ก. เบนไป เช่น เหหัวเรือ, เขว เช่น เขาเหไปเข้าข้างศัตรู, เฉ เช่น รถยนต์เหออกนอกทาง.
- หน น. ทาง, ทิศ, เช่น หนเหนือ หนใต้; ครั้ง, คราว, เช่น กี่หน; ที่, สถานที่, เช่น ถึงยามค่ำน้ำค้างลงพร่างพร้อย น้องจะลอยลมบนไปหนใด. (นิราศอิเหนา),
- จก ก. ฉก เช่น ระวังงูจะจกเอา, ล้วง เช่น รู้สึกเหมือนกับว่ามีมือใครมาจกกระเป๋า, ควัก เช่น น้องคงแอบมาจกเงินไป ๕๐๐ บาท, ขุด เช่น จกแรง ๆ หน่อย
- กระแห น. ชื่อปลาน้ำจืดชนิด Puntius schwanenfeldii ในวงศ์ Cyprinidae รูปร่างป้อมคล้ายปลาตะเพียนทอง มักมีสีแดงอ่อนบนครีบ
- กระแหน -แหฺน ใช้เข้าคู่กับคำ กระหนอ และ กระแหนะ เป็น กระหนอกระแหน และ กระแหนะกระแหน.
- กระแหน่ ( โบ ; กลอน ) น. เล่ห์กล, แง่งอน, ท่วงที, เช่น ข้ากระไดกระแหน่ แต่งแง่แผ่ตนท่า. ( ลอ ).
- แห ๑ น. ชื่อเครื่องจับปลาชนิดหนึ่ง ถักเป็นตาข่าย ใช้ทอดแผ่ลงในน้ำแล้วค่อย ๆ ดึงขึ้นมา. ๒ ( ถิ่น-ปักษ์ใต้, อีสาน ) ว. เปรียว, ไม่เชื่อง. ๓ (
- แหน ๑ แหนฺ ก. ใช้เข้าคู่กับคำอื่น ในคำว่า หวงแหน แห่แหน เฝ้าแหน. ๒ แหนฺ ( ถิ่น-อีสาน ) น. ชื่อไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Terminalia วงศ์
- -กระแหน -แหฺน ใช้เข้าคู่กับคำ กระหนอ และ กระแหนะ เป็น กระหนอกระแหน และ กระแหนะกระแหน.
- กระแหนบ -แหฺนบ (กลอน) ก. แหนบ, ถอน, เช่น แนบนิทรลวดแลบ ก็กระแหนบที่หนวดเครา. (บุณโณวาท).
- กระแหนะ -แหฺนะ น. ลายปูนปิดทอง. ก. แตะ, เติม; ว่าเปรียบเปรย; กรรมวิธีในการสร้างงานประติมากรรมตกแต่ง หรือวิธีการช่างจุลศิลป์ประเภทหนึ่ง โดยใช้สมุกปั้นเป็นลวดลายหรือรูปภาพติดเข้ากับพื้นไม้หรือพื้นกระดาษ เช่น