กะหูด คือ
สัทอักษรสากล: [ka hūt] การออกเสียง:
"กะหูด" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- (ถิ่น) น. เครื่องมือจับสัตว์น้ำชนิดหนึ่ง ใช้ในท้องที่จังหวัดจันทบุรี รูปร่างคล้ายกรวย ทำด้วยไม้ไผ่.
- กะ พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคำซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อสละสลวยหรือเน้นคำให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น
- หู น. ส่วนหนึ่งของร่างกายคนและสัตว์ ทำหน้าที่สำหรับฟังเสียง; ส่วนแห่งสิ่งของที่ทำไว้หิ้ว แขวน ร้อย หรือรูดเข้าออก เช่น หูกระทะ หูมุ้ง หูกางเกง หูถุง;
- หูด ๑ น. โรคผิวหนังชนิดหนึ่งขึ้นเป็นไตแข็ง. ๒ ดู ชันโรง .
- กะหลีกะหลอ ก. แสดงกิริยาท่าทางหรือพูดจาประจบประแจงเกินงาม.
- กะหนะ น. ทางของต้นจากที่ใช้กรุฝา.
- กะหริ่ง กะริง
- กะหรี่ น. แกงชนิดหนึ่ง สีเหลือง ปรุงด้วยเครื่องแกงกะหรี่; เรียกเครื่องแกงกะหรี่ซึ่งประกอบด้วยขมิ้นและเครื่องเทศอื่น ๆ บดเป็นผงว่า ผงกะหรี่. (มลายู มาจากทมิฬว่า ผัด; อ. curry).
- กะหร่อง (ปาก) ว. ผอมเกร็ง.
- กะหล่ำ น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Brassica oleracea L. ในวงศ์ Cruciferae มีหลายพันธุ์ เช่น กะหล่ำปลี หรือ กะหล่ำใบ (B. oleracea L. var. capitata L.) กะหล่ำดอก หรือ กะหล่ำต้น (B. oleracea L. var. botrytis L.) กะห
- กะหำ น. ไข่หำ, ลูกอัณฑะ.
- กะหือ ว. เสียงครวญคราง.
- ใส่กะหรี่ เตรียมอาหารด้วยกะหรี่ แปรงขนม้า
- กะหนุงกะหนิง ว. เสียงพูดจู๋จี๋ระหว่างคู่รักเป็นต้น.
- กะหลุกกะหลิก ก. หลุก ๆ หลิก ๆ.
- กะหล่อยกะหลิบ adv. คล่องแคล่วในการใช้มืออย่างว่องไวน่าดู , ชื่อพ้อง: กะล่อยกะหลิบ ตัวอย่างการใช้: เขาทำงานได้กะหล่อยกะหลิบดี clf.: ช้า