กะเกาะ คือ
- (กลอน) ว. เสียงดังเช่นนั้น เช่น เคาะพระทวารดังกะเกาะก้องกึก. (ม. ร่ายยาว ชูชก).
- กะ พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคำซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อสละสลวยหรือเน้นคำให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น
- เก ว. ไม่ตรงตามแนว, ไม่เป็นระเบียบ, (ใช้แก่ของที่เป็นซี่เป็นลำ) เช่น ฟันเก ขาเก; ไม่ยอมปฏิบัติตามระเบียบ; เกะกะ, เกเร; ( ปาก )
- เกา ก. เอาเล็บหรือสิ่งที่มีลักษณะคล้ายเล็บครูดผิวหนังเพื่อให้หายคันเป็นต้น, อาการที่สมอเรือครูดไปตามพื้นท้องน้ำ ไม่ยึดอยู่กับที่.
- เกาะ ๑ น. ส่วนของแผ่นดินที่มีน้ำล้อมรอบ; ละเมาะ โดยปริยายใช้เรียกพื้นที่ซึ่งมีต้นไม้เป็นต้นขึ้นหนาแน่น มีทุ่งหรือที่เตียนล้อมรอบ
- กา ๑ น. ชื่อนกชนิด Corvus macrorhynchos ในวงศ์ Corvidae ตัวดำ ร้องกา ๆ, อีกา ก็เรียก; ชื่อดาวฤกษ์ธนิษฐา เช่น แม้นดาวกามาใกล้ในมนุษย์. ( อภัย ).
- เกาะแกะ ก. พูดพาดพิงเชิงชู้สาว, พูดเชิงเกี้ยวพาราสี, เช่น มันเกาะแกะเกินก้ำเป็นธรรมดา. (ขุนช้างขุนแผน), เคาะแคะ ก็ว่า.
- เกาะเกี่ยว 1) v. เกี่ยวข้องตามไปด้วย ตัวอย่างการใช้: พวกเราเกาะเกี่ยวไปกับคณะนักสำรวจตั้งแต่เช้าตรู่ 2) v. อาการที่เข้าไปติดอยู่หรือเหนี่ยวรั้งไว้ ตัวอย่างการใช้: ผมพาร่างเกาะเกี่ยวไ
- เกาะเก้าอี้ รักษาตำแหน่ง
- การกะเทาะ การปอก การเลาะ สิ่งที่ถูกปลอกเปลือก
- หมู่เกาะโมลุกกะ มาลูคู
- กะเทาะ ก. ล่อนหลุดออกมาเป็นชิ้น ๆ หรือเป็นแผ่น ๆ, ทำให้ล่อนหลุดออก เช่น กะเทาะเม็ดบัว. น. สิ่งของหรือเปลือกไม้ที่หลุดล่อนออกมาจากพื้นเดิมหรือจากต้น เช่น กะเทาะมะขาม.
- เกาะเล็ก n. เกาะขนาดเล็ก ชื่อพ้อง: เกาะเล็กเกาะน้อย คำตรงข้าม: เกาะใหญ่ ตัวอย่างการใช้: บ้านชาวญวนส่วนใหญ่จะตั้งอยู่บนบริเวณโคกดิน ลักษณะเหมือนเป็นเกาะเล็กซึ่งมีต้นไม้โดยรอบ clf.: เกาะ
- เกาะเล็ก ๆ เกาะ
- เกาะเล็กๆ เกาะ สันดอน โขดหิน
- การกะเทาะเปลือก การเอาเปลือกออก