คนหนักแผ่นดิน คือ
"คนหนักแผ่นดิน" อังกฤษ
- คนรกโลก
คนหนักโลก
คนเลว
คนที่สมควรตาย
คนที่สมควรถูกแขวนคอ
- คน ๑ น. มนุษย์. ๒ ก. กิริยาที่เอามือหรือสิ่งอื่นกวนเพื่อทำสิ่งที่นอนก้นหรือที่เกาะกันอยู่เป็นกลุ่มเป็นก้อนให้กระจายขยายตัว หรือกวนสิ่งต่าง ๆ
- หน น. ทาง, ทิศ, เช่น หนเหนือ หนใต้; ครั้ง, คราว, เช่น กี่หน; ที่, สถานที่, เช่น ถึงยามค่ำน้ำค้างลงพร่างพร้อย น้องจะลอยลมบนไปหนใด. (นิราศอิเหนา),
- หนัก ว. มีน้ำหนักมาก, ตรงข้ามกับ เบา; แรง เช่น ฝนตกหนัก, รุนแรง เช่น รบหนัก ไข้หนัก, มาก เช่น บุญหนักศักดิ์ใหญ่; ที่ให้ผลช้ากว่าปรกติ เช่น ทุเรียนหนัก
- หนักแผ่นดิน ( สำ ) ว. ไม่รู้คุณของแผ่นดินที่อาศัย, ทรยศต่อบ้านเมืองของตน, เสนียดสังคม.
- นัก ๑ น. ใช้ประกอบหน้าคำอื่นหมายความว่า ผู้ เช่น นักเรียน, ผู้ชอบ เช่น นักดื่ม นักท่องเที่ยว, ผู้ชำนาญ เช่น นักเทศน์ นักดนตรี นักคำนวณ นักสืบ,
- แผ่ ก. คลี่ขยายกระจายออกไปให้มีลักษณะแบนราบหรือกว้างกว่าเดิมหรืออาการอื่น ๆ ที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น แผ่อาณาเขต แผ่หาง; ให้ เช่น แผ่ส่วนบุญ.
- แผ่น น. สิ่งที่มีลักษณะแบน ๆ อย่างกระดาษหรือกระดาน เช่น แผ่นกระดาษ แผ่นกระดาน, ลักษณนามใช้เรียกสิ่งที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น กระดาษแผ่นหนึ่ง กระดาน ๒
- แผ่นดิน น. พื้นดินของโลก; รัฐ, ประเทศ, เช่น แผ่นดินไทย; รัชกาล เช่น ผลัดแผ่นดิน.
- ดิน ๑ น. ชื่อธาตุอย่างหนึ่งในธาตุทั้ง ๔ คือ ดิน น้ำ ไฟ ลม, วัตถุธาตุของพื้นโลกที่ใช้สำหรับปลูกพืชผลหรือปั้นสิ่งต่าง ๆ เป็นต้น; แผ่นดิน เช่น
- พลิกแผ่นดิน (สำ) ก. เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในระบบหรือวิธีการปกครองแผ่นดิน. ว. อาการที่ตามหาเท่าไร ๆ ก็ไม่พบ เช่น หาจนพลิกแผ่นดิน.
- ที่หันหน้ามุ่งสู่แผ่นดิน หันไปทางแผ่นดิน
- เสี้ยนหนามแผ่นดิน น. ข้าศึก, ผู้ที่คิดคดทรยศต่อแผ่นดิน.
- แทรกแผ่นดิน (สำ) ก. หลีกหนีไปให้พ้น ไม่อยากให้ใครพบหน้าเพราะอับอาย.
- การพลิกแผ่นดิน การปฏิวัติ การเปลี่ยนแปลงอย่างขนานใหญ่ การเปลี่ยนแปลงอย่างสิ้นเชิง
- คนไม่หนักแน่น คนอ่อนแอ คนหูเบา คนอารมณ์อ่อนไหว