ชรอัด คือ
สัทอักษรสากล: [at] การออกเสียง:
"ชรอัด" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
ชฺระ-
(กลอน) ว. ชัด เช่น ลางหมู่งาชรอัดชรแอ้น. (ม. คำหลวง มหาราช).
- ชร ชฺระ- เป็นพยางค์หน้าของคำที่ตั้งต้นด้วยตัว ช ในบทกลอน เช่น ชทึง เป็น ชรทึง. ๑ ชอน น. ลวดลาย, ลายประกอบริม, ระบาย, เช่น ขนนเขนยชร. ( ข. ). ๒
- รอ ๑ น. หลักปักกันกระแสน้ำ เช่น ทำรอกันตลิ่งพัง. ๒ ก. คอย เช่น รอรถ รอเรือ; ยับยั้ง เช่น รอการพิจารณาไว้ก่อน รอการลงอาญาไว้ก่อน; เกือบจด, จ่อ,
- อัด ๑ ก. ดันลมเข้าไป เช่น อัดลูกโป่ง, ยัดให้แน่น เช่น อัดดินปืน, ประกับให้แน่น เช่น อัดพื้นให้ชิด, ทำให้แน่น เช่น อัดกันอยู่ในรถ, บีบ เช่น อัดใบลาน;
- ชรัด ชฺรัด (กลอน) ก. ซัด เช่น หมู่หนึ่งชรัดด้วยทองแดง. (ม. คำหลวง มหาราช).
- ชรออบ ชฺระ- (กลอน) ก. ชอบ เช่น ธมาพักชรออบ คืนเดียวชอบชีนอน. (ม. คำหลวง กุมาร).
- ชรอื้อ ชฺระ- (กลอน) ว. ชื้อ, ชอื้อ, มืดมัว, มืดคลุ้ม, ครึ้ม, อับแสง, เช่น ด่งงไซรชรเอมชรอื้อ อรทื้อแทบทางเดอร. (ม. คำหลวง ชูชก), ฟ้าหล้าเข็ดขาม ชรอื้อชรอ่ำอับทิศ. (สมุทรโฆษ).
- ชรอุ่ม ชฺระ- (กลอน) ว. ชอุ่ม, มืดคลุ้ม, มืดมัว, เช่น อากาศชรอุ่มอับ ทิศบังด้วยธุลี. (สุมทรโฆษ).
- ชรอ่ำ ชฺระ- (กลอน) ว. ชอ่ำ, มืดมัว, มืดครึ้ม, เช่น ชรอ่ำฟ้าใต้แผ่นหงาย. (แช่งน้ำ), ฟ้าหล้าเข็ดขาม ชรอื้อชรอ่ำอับทิศ. (สมุทรโฆษ).
- ชรอกชรัง ชฺรอกชฺรัง ก. ซอกซอน, ซอกแซก.
- ชระดัด ชฺระ- (กลอน) ก. ดัด.
- ชระลัด ชฺระ- (กลอน) น. ทางลัดไปได้.
- เชริด เชฺริด (โบ) น. เทริด, เครื่องสวมศีรษะ.
- วัชรอาสน์ น. อาสนะที่พระพุทธเจ้าประทับใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ ณ พุทธคยา ประเทศอินเดีย ในวันตรัสรู้ เรียกว่า พระแท่นวัชรอาสน์, โพธิบัลลังก์ หรือ รัตนบัลลังก์ ก็เรียก. (ส. วชฺราสน).
- ชระเดียดชระดัด (กลอน) ว. เกลื่อนกล่น, ดาษดื่น.
- ชร- ๓ ชฺระ- เป็นพยางค์หน้าของคำที่ตั้งต้นด้วยตัว ช ในบทกลอน เช่น ชทึง เป็น ชรทึง.