ชระดัด คือ
สัทอักษรสากล: [dat] การออกเสียง:
"ชระดัด" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
ชฺระ-
(กลอน) ก. ดัด.
- ชร ชฺระ- เป็นพยางค์หน้าของคำที่ตั้งต้นด้วยตัว ช ในบทกลอน เช่น ชทึง เป็น ชรทึง. ๑ ชอน น. ลวดลาย, ลายประกอบริม, ระบาย, เช่น ขนนเขนยชร. ( ข. ). ๒
- ชระ ๑ ชฺระ ว. สะอาด, บริสุทธิ์, เช่น ให้ฉลักแสบกภาพอันชระ. ( สมุทรโฆษ ). ๒ ชฺระ เป็นพยางค์หน้าของคำในบทกลอน เช่น ชระงม ชระง่อน.
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- ดัด ๑ ก. ทำให้คดหรือตรงตามประสงค์ เช่น ดัดไม้ ดัดนิสัย; ทำให้เที่ยงตรง เช่น พระดัดคดีดล โดยเยี่ยง ยุกดิ์นา. ( ตะเลงพ่าย ); ปลุก เช่น
- ชระเดียดชระดัด (กลอน) ว. เกลื่อนกล่น, ดาษดื่น.
- ชระดื่น ชฺระ- (กลอน) ว. ดื่น.
- ชระลัด ชฺระ- (กลอน) น. ทางลัดไปได้.
- ชรัด ชฺรัด (กลอน) ก. ซัด เช่น หมู่หนึ่งชรัดด้วยทองแดง. (ม. คำหลวง มหาราช).
- ระดับต่ำสุด ชั้นต่ำสุด ฐาน พื้น
- ระดับสุงสุด ความเต็มที่
- ระดับสูงสุด ขีดสุด จุดสุดยอด จุดสูงสุด การกล่าวคำพูด การพูด การร้อง การเปล่งเสียง คารม ฝีปาก สิ่งที่เปล่งออก เสียงร้อง เสียงเปล่ง จํานวนมากที่สุด ขั้นสูงสุด ขั้นดีเลิศ ระดับสุดยอด สุดยอด สูงสุด
- ประดับด้วยเพชรพลอย ประดับด้วย ตกแต่งด้วยเพชรพลอย
- ชรอัด ชฺระ- (กลอน) ว. ชัด เช่น ลางหมู่งาชรอัดชรแอ้น. (ม. คำหลวง มหาราช).
- เชริด เชฺริด (โบ) น. เทริด, เครื่องสวมศีรษะ.
- ชระงม ชฺระ- (กลอน) น. ป่ากว้าง, ป่าใหญ่. ว. เปลี่ยวเปล่า, เงียบสงัด, เช่น อยู่ชระงมนั้น. (ม. คำหลวง มหาราช).