ชระเอม คือ
สัทอักษรสากล: [cha ra ēm] การออกเสียง:
"ชระเอม" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
ชฺระ-
(กลอน) ว. ร่มเย็น เช่น ดั่งฤๅดั่งไทรชระเอมชรอื้อ. (ม. คำหลวง ชูชก).
- ชร ชฺระ- เป็นพยางค์หน้าของคำที่ตั้งต้นด้วยตัว ช ในบทกลอน เช่น ชทึง เป็น ชรทึง. ๑ ชอน น. ลวดลาย, ลายประกอบริม, ระบาย, เช่น ขนนเขนยชร. ( ข. ). ๒
- ชระ ๑ ชฺระ ว. สะอาด, บริสุทธิ์, เช่น ให้ฉลักแสบกภาพอันชระ. ( สมุทรโฆษ ). ๒ ชฺระ เป็นพยางค์หน้าของคำในบทกลอน เช่น ชระงม ชระง่อน.
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- เอ ๑ ว. หนึ่ง; เปลี่ยว, เดี่ยว, เช่น เอองค์. ( ตัดมาจาก เอก). ๒ อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความแปลกใจ สงสัย เป็นต้น.
- เอม ว. หวาน; ชื่นใจ
- อม ก. เอาสิ่งของใส่ปากแล้วหุบปากไว้ไม่กลืนลงไป, โดยปริยายหมายความว่า ไม่แสดงออกมา เช่น อมภูมิ; กลมกลืน, ปนกัน, เช่น อมเปรี้ยวอมหวาน เขียวอมเหลือง; (
- ชระเดียด ชฺระ- (กลอน) ว. รายไป, เรียดไป, โบราณเขียนเป็น ชรดียด ก็มี เช่น ผลักให้ตากตนอยียด ชรดียดด้าวดิ้นดรนอนอยู่แล. (ม. คำหลวง กุมาร).
- ชระเมียง ชฺระ- (กลอน) ก. เมียง, มองดู.
- ชระเมียน ชฺระ- (กลอน) ก. ชม, ดู.
- ชระมุกชระมอม ชฺระ- (กลอน) ว. ขะมุกขะมอม.
- ชระเดียดชระดัด (กลอน) ว. เกลื่อนกล่น, ดาษดื่น.
- ชะเอม น. (๑) ชื่อไม้เถาชนิด Myriopteron extensum (Wight) K. Schum. ในวงศ์ Asclepiadaceae เถามีรสหวาน ใช้ทำยา ผลมีครีบโดยรอบ กินได้, ข้าวสาร ก็เรียก. (๒) ชื่อพรรณไม้ ๓ ชนิดในวงศ์ Leguminosae คือ ชะเอมไทย ห
- เวชระเบียน ประวัติคนไข้
- สระเอ สระแอ ไม้หน้า
- กระเทื้อม ก. กระเทือน เช่น เสียงดังโครมใหญ่ไม่กระเทื้อม. (อภัย).