เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ตระกัด คือ

สัทอักษรสากล: [kra kat]  การออกเสียง:
"ตระกัด" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • ตฺระ-
    (โบ) ก. ใคร่, อยาก, ยินดี, เช่น พ่อเอ๋ย ใช่ตั้งใจแก่ความกำหนัด ในความตระกัดกรีธา. (ม. คำหลวง กุมาร), กระกัด ก็ว่า.
  • ตร     หล่อ
  • ตระ     ๑ ตฺระ น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. ๒ ตฺระ น. แถบ, แปลง, (ใช้แก่ที่).
  • ระ     ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
  • กัด     ๑ ก. เอาฟันกดไว้โดยแรง เพื่อไม่ให้สิ่งที่กดไว้หลุดไป เช่น กัดไว้ให้อยู่ กัดไว้ให้แน่น หรือเพื่อให้เข้าไปให้ทะลุ ให้ฉีกขาดเป็นต้น เช่น
  • ตระกูลผู้ดี    คนชั้นสูง คนในตระกูลผู้ดี ผู้นิยมและสนับสนุนระบอบการปกครองแบบคณาธิปไตย
  • ผู้ดีมีตระกูล    ผู้ดี
  • คนในตระกูลผู้ดี    คนชั้นสูง ตระกูลผู้ดี ผู้นิยมและสนับสนุนระบอบการปกครองแบบคณาธิปไตย
  • ตระกล    ตฺระกน ว. มีมาก; งาม.
  • ตระกูล    ตฺระ- น. สกุล, วงศ์, เชื้อสาย, เผ่าพันธุ์.
  • กระกัด    (โบ) ก. ใคร่, อยาก, ยินดี, เช่น ด้วยกระกัดศรัทธา. (มาลัยคำหลวง), ใช้ว่า ตระกัด ก็มี, เขียนเป็น กรกัติ หรือ กระกัติ ก็มี.
  • ประกิด    ก. ประกอบ, ประกับ, ประดับ.
  • ตระกร้า    กระเช้า
  • ตระกวน    ตฺระ- น. ผักบุ้ง. (ข. ตฺรกวน).
  • ตระกอง    ตฺระ- ก. กอด, เกี่ยวพัน, กระกอง ก็ว่า. (ข. ตฺรกง).
  • ตระการ    ตฺระ- ว. งาม; ประหลาด, แปลก ๆ; หลาก, มีต่าง ๆ.