กระกัด คือ
สัทอักษรสากล: [kra kat] การออกเสียง:
"กระกัด" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- (โบ) ก. ใคร่, อยาก, ยินดี, เช่น ด้วยกระกัดศรัทธา. (
มาลัยคำหลวง ), ใช้ว่า ตระกัด ก็มี, เขียนเป็น กรกัติ หรือ กระกัติ ก็มี.
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กระ ๑ น. ชื่อเต่าทะเลชนิด Eretmochelys imbricata ในวงศ์ Cheloniidae หลังเป็นเกล็ดแผ่นโต ๆ
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- กัด ๑ ก. เอาฟันกดไว้โดยแรง เพื่อไม่ให้สิ่งที่กดไว้หลุดไป เช่น กัดไว้ให้อยู่ กัดไว้ให้แน่น หรือเพื่อให้เข้าไปให้ทะลุ ให้ฉีกขาดเป็นต้น เช่น
- กระกรี๊ด (กลอน) ว. เสียงกรีด ๆ ดั่งเสียงหญิงร้องด้วยความตกใจ เช่น แต่ร้องจนสุดสิ้นพระสุรเสียงสำเนียงกระกรี๊ดกรีด. (ม. ร่ายยาว กุมาร).
- พระกรรบิด มีดโกน
- กระกร (กลอน) ก. ฉายรัศมี เช่น ทินกรกระกรจามี- กรกรรัศมี ดุรงครัตน์พรรณราย. (สมุทรโฆษ). (กระ + ส. กร = รัศมี).
- ตะกรุด -กฺรุด น. เครื่องรางอย่างหนึ่ง ทำด้วยโลหะหรือใบลานเป็นต้น โดยปรกติลงคาถาอาคมแล้วม้วนเป็นรูปกลมยาวและกลวง, กะตรุด ก็ว่า.
- มะกรูด น. ชื่อไม้ต้นชนิด Citrus hystrix DC. ในวงศ์ Rutaceae ผลขรุขระ รสเปรี้ยว ผิวและใบมีกลิ่นหอมฉุน ใช้แต่งกลิ่นและรสอาหาร ใช้ทำยาได้.
- ตระกัด ตฺระ- (โบ) ก. ใคร่, อยาก, ยินดี, เช่น พ่อเอ๋ย ใช่ตั้งใจแก่ความกำหนัด ในความตระกัดกรีธา. (ม. คำหลวง กุมาร), กระกัด ก็ว่า.
- ประกิด ก. ประกอบ, ประกับ, ประดับ.
- กระกัติ (โบ) ก. กระกัด, ใคร่, อยาก, ยินดี, เช่น อย่ายักษ์มลักกรีฑาดล ด้าวอำเภอพลลการกระกัติกามา. (สรรพสิทธิ์).
- กระกี้ น. ต้นตะเคียน. (ข.).
- กระกูล (เลิก) น. ตระกูล. (อัยการเบ็ดเสร็จ).
- จรดพระกรรไกรกรรบิด (ราชา) ก. ใช้กรรไตรและมีดโกนขริบและโกนผมเล็กน้อย เป็นการเริ่มในพระราชพิธีโสกันต์และเกศากันต์.