ประติชญา คือ
ปฺระติดชะยา
น. ปฏิญญา. (ส. ปฺรติชฺา; ป. ปฏิญฺา).
- ปร ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
- ประ ปฺระ ใช้เติมหน้าคำอื่นเพื่อให้คำหนักแน่นขึ้น เช่น ชิด เป็น ประชิด, ท้วง เป็น ประท้วง; คำที่แผลงมาจาก ผ เช่น ผทม เป็น ประทม แล้วแผลง ประ เป็น บรร
- ประติ เป็นคำสันสกฤตใช้เหมือน ปฏิ. ( ดูคำที่มี ปฏิ หรือ ประติ นำหน้า ).
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- ติ ก. ชี้ข้อบกพร่อง.
- ประดิชญา ปฺระดิดยา, ปฺระดิดชะยา (แบบ) น. ปฏิญญา. (ส. ปฺรติชฺา).
- ระบบปรัชญา ความรักวิชาอย่างคลั่งไคล้ จริยศาสตร์ ระบบหลักการ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ สาขาวิชาทั้งหมด หลักปรัชญา
- (ปรัชญา) เป็นคำที่ใช้ในปรัชญา
- ปรัชญา ปฺรัดยา, ปฺรัดชะยา น. วิชาว่าด้วยหลักแห่งความรู้และความจริง. (ส.).
- ปรีชญา ปฺรีดยา (แบบ) น. ปรีชา เช่น อันประกอบด้วยจักษุคือปรีชญา. (นันโท). (ส. ปริชฺา).
- อภิปรัชญา อะพิปฺรัดยา, อะพิปฺรัดชะยา น. ปรัชญาสาขาหนึ่ง ว่าด้วยความแท้จริง ซึ่งเป็นเนื้อหาสำคัญของปรัชญา. (อ. metaphysics).
- ประติญาณ น. ปฏิญาณ. (ส. ปฺรติชฺาน).
- นักปรัชญา n. ผู้รู้, ผู้มีปัญญา ตัวอย่างการใช้: นักปรัชญาหลายคนเชื่อว่าความฉลาดของมนุษย์เป็นสิ่งยากที่คอมพิวเตอร์จะเลียนแบบได้
- ปราชญา ปฺราดยา น. ปัญญา. (ส. ปฺรชฺา; ป. ปญฺา).
- หลักปรัชญา ความรักวิชาอย่างคลั่งไคล้ จริยศาสตร์ ระบบปรัชญา ระบบหลักการ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ สาขาวิชาทั้งหมด หลักความจริงของชีวิต