ปัญจก คือ
ปันจก, -จะกะ
(แบบ) น. เบญจก, หมวด ๕. (ป.).
- ปัญจ ปันจะ- ( แบบ ) ว. เบญจ. ( ป. ).
- จก ก. ฉก เช่น ระวังงูจะจกเอา, ล้วง เช่น รู้สึกเหมือนกับว่ามีมือใครมาจกกระเป๋า, ควัก เช่น น้องคงแอบมาจกเงินไป ๕๐๐ บาท, ขุด เช่น จกแรง ๆ หน่อย
- ปัญจกะ ปันจก, -จะกะ (แบบ) น. เบญจก, หมวด ๕. (ป.).
- ปัญจกรีฑา การแข่งขันปัญจกรีฑา
- ปัญจ- ปันจะ- (แบบ) ว. เบญจ. (ป.).
- บัญจก บันจก น. หมวด ๕, ประชุม ๕, เช่น ขันธบัญจก. (ป. ปญฺจก).
- พัญจก พันจก น. ผู้ล่อลวง. (ป., ส. วญฺจก).
- มัญจก เตียง ที่นอน พระแท่นบรรทม มัญจกะ มัญจา
- มัญจกะ มันจะกะ, มันจา น. เตียง, ที่นอน. (ป., ส. มญฺจ, มญฺจก).
- ลัญจกร ลันจะกอน, ลันฉะกอน (แบบ) น. ตรา (สำหรับใช้ตีหรือประทับ), ใช้เป็นราชาศัพท์ว่า พระราชลัญจกร เช่น ประทับพระราชลัญจกร. (ป.).
- วัญจก วันจก (แบบ) น. ผู้ลวง, คนคดโกง. (ป., ส.).
- สัญจกร ตราประทับเล็ก ๆ ตราเล็ก ๆ เครื่องประทับตรา
- เบญจก เบนจก น. หมวด ๕. (ป. ปญฺจก).
- เบญจกูล น. เครื่องยา ๕ อย่าง คือ ขิง ดีปลี ช้าพลู สะค้าน เจตมูลเพลิง. (ส. ปญฺจโกล).
- ปัญจนที น. แม่น้ำ ๕ สาย คือ ๑. คงคา ๒. ยมนา ๓. อจิรวดี ๔. สรภู ๕. มหี.