พนาศรัย คือ
- น. ผู้อยู่ป่า. (ส. วนาศฺรย).
- พน พน, พะนะ- น. ป่า, พง, ดง. ( ป. , ส. วน).
- พนา น. ป่า, พง, ดง, ( มาจาก พน เติมสระอา เช่น พนาดร = ป่าสูง พนาสณฑ์, พนาสัณฑ์ = แนวป่า, ราวป่า).
- นา ๑ น. พื้นที่ราบทำเป็นคันกั้นน้ำเป็นแปลง ๆ สำหรับปลูกข้าวเป็นต้น, พื้นที่มีลักษณะคล้ายนาสำหรับทำประโยชน์อื่น ๆ เรียกตามสิ่งที่ทำ เช่น นาเกลือ
- นาศ ( แบบ ) น. ความเสื่อม, การทำลาย, ความป่นปี้, เช่น บุญแห่งเจ้าจักนาศ จากอาวาศเวียงอินทร์. ( ม. คำหลวง ทศพร). ( ส. ; ป. นาส).
- ศร สอน น. อาวุธชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยคันสำหรับยิง เรียกว่า คันศร กับลูกที่มีปลายแหลม เรียกว่า ลูกศร, เรียกสายคันศรว่า สายศร,
- ศรัย ไส น. ที่พักพิง, ที่พึ่ง, ที่อาศัย, ที่ร่มเย็น. ( ส. ศฺรย).
- รัย ว. รยะ, เร็ว, ไว. ( ป. , ส. รย).
- พนาศรม พะนาสม น. อาศรมในป่า. (ส. วนาศฺรม).
- สนทนาปราศรัย v. ทักทายกันด้วยวาจา , ชื่อพ้อง: พูดคุย, สนทนา, โอภาปราศรัย ตัวอย่างการใช้: ผู้ว่าฯ สนทนาปราศรัยกับนักข่าวอย่างเป็นกันเองในงานเลี้ยงน้ำชา
- วนาศรม น. ที่อยู่ในป่า. (ส. วนาศฺรม).
- นิราศรัย -ไส (แบบ) ว. ไม่อยู่เป็นที่, ไม่ติดอยู่กับที่. (ส.).
- ปราศรัย ปฺราไส น. การพูดด้วยไมตรีจิต, การแสดงอัชฌาสัยในระหว่างผู้ใหญ่ต่อผู้น้อยหรือผู้ที่เสมอกัน; คำปรารภ. ก. พูดด้วยไมตรีจิต, พูดแสดงอัชฌาสัยระหว่างผู้ใหญ่ต่อผู้น้อยหรือผู้ที่เสมอกัน; ปรารภ. (ส. ปฺรศฺรย).
- พนาลัย น. การอยู่ป่า, ที่อยู่ในป่า. (ส. วนาลย).
- เรื่องสนทนาหรือปราศรัย หัวข้อ เฉพาะที่ เฉพาะแห่ง เรื่องท้องถิ่น เหตุการณ์ปัจจุบันที่น่าสนใจ
- คำปราศรัย คำปราศัย คำสุนทรพจน์ คำโวหาร ศิลปะแห่งการพูด ศิลปะการแสดงสุนทรพจน์