พะ คือ
สัทอักษรสากล: [pha] การออกเสียง:
"พะ" การใช้"พะ" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- ๑
น. เพิงที่ต่อปะเข้าไปกับด้านสกัดของเรือน, พะเพิง เพิง หรือ เพิงพะ ก็เรียก.
ก. พักพิงหรือแอบอิงอาศัย เช่น ลูกมาพะพ่อแม่อยู่, พะพิง ก็ว่า; ปะทะกัน, ชนกัน, เช่น คน ๒ คนเดินมาพะกัน; ปะทะติดอยู่ เช่น สวะมาพะหน้าบ้าน.
๒
ใช้นำหน้าคำที่ตั้งต้นด้วยตัว พ มีความแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น เช่น พะพรั่ง พะพรั่น พะพราย.
- รพะ รบ, ระพะ, ระพา น. เสียงร้อง, เสียงดัง, เสียงเอิกเกริก. (ป., ส. รว).
- เพะ ก. โปะเข้าไป, ทุ่มเทเข้าไป. ว. เผง, ไม่ผิดพลาด, เช่น ตรงเพะ ถูกเพะ.
- แพะ ๑ น. ชื่อสัตว์เคี้ยวเอื้องชนิด Capra hircus ในวงศ์ Bovidae เป็นสัตว์กีบคู่ขนาดกลาง มีความอดทน แข็งแรง และทนทานต่อโรคได้ดีกว่าสัตว์กีบคู่อื่น ๆ สามารถปีนป่ายที่สูงโดยเฉพาะโขดหินหรือภูเขาได้ดี ขนหยาบส
- พะรุงพะรัง ว. ปะปนกันจนรุงรัง เช่น หอบข้าวของพะรุงพะรัง, นุงนัง เช่น มีหนี้สินพะรุงพะรัง.
- พะวักพะวง กังวล พะวง ห่วง พะว้าพะวัง ห่วงหน้าพะวงหลัง ห่วงหน้าห่วงหลัง
- พะวักพะวน ก. ห่วงเรื่องต่าง ๆ จนวุ่นวายใจ.
- พะว้าพะวัง ก. ห่วงหน้าห่วงหลัง, ห่วงหน้าพะวงหลัง.
- พะอืดพะอม ว. อาการที่รู้สึกคลื่นไส้; โดยปริยายหมายความว่า ไม่รู้จะตัดสินใจอย่างไรดี, ไม่กล้าที่จะตัดสินใจเด็ดขาดลงไป, กลืนไม่เข้าคายไม่ออก ก็ว่า.
- พะเน้าพะนอ ก. พร่ำเอาอกเอาใจเกินสมควร.
- พะเน้าพะนึง ก. ทำอิด ๆ เอื้อน ๆ; เซ้าซี้.
- ตามพะ ตามพะ- (แบบ) น. ทองแดง. (ป. ตมฺพ; ส. ตามฺร).
- ตุมพะ (แบบ) น. ชื่อมาตราตวงอย่างโบราณ; หม้อน้ำมีพวย. (ป.; ส. ตุมฺร).
- ทัพพะ ทับพะ- น. เครื่องใช้ต่าง ๆ, สมบัติ, เงิน, มักใช้ประกอบส่วนหน้าสมาส. (ป.).
- บูรพะ บูน, บูระพะ ว. บุพ.
- ปีแพะ มะแม ปีมะแม
ประโยค
- ใต้เท้านัม ท่านอยู่ข้างนอกหรือไม่ พะยะค่ะ ฝ่าบาท
- ฉากสุดท้ายจะเป็นการจับแพะชนแกะสีหน้าของทั้งคู่
- ไม่ ไม่่ใช่พะยะค่ะ เป็นประเทศที่เงียบสงบ พะยะค่ะ
- ไม่ ไม่่ใช่พะยะค่ะ เป็นประเทศที่เงียบสงบ พะยะค่ะ
- เพื่อทำให้ท้องพระคลังกลับคืนสู่สภาพเดิมพะยะค่ะ
- กระหม่อมพบคนที่หน้าสงสัยในหมูบ้านบันชอลพะยะค่ะ
- หม่อมฉันเต็มใจที่จะทำภารกิจนี้ทุกเมื่อพะย่ะค่ะ
- ตอนนี้ถึงเวลาที่องค์ชายจะแสดงฝีมือแล้วพะย่ะค่ะ
- เจ้าชายทรงเป็นฟ้าที่สูงและกว้างที่สุดนะพะยะค่ะ
- พะ ยะ ค่ะ แม้นว่ากระหม่อมจะบกพร่องในอีกหลายอย่าง