มิจฉาทิฎฐิ คือ
"มิจฉาทิฎฐิ" อังกฤษ
- ความเห็นผิด
มฤจฉาทิฎฐิ
มิจฉาทิฐิ
- มิ ๑ ว. ไม่ เช่น มิทราบ มิควร มิบังอาจ. ๒ ก. เฉย, ไม่ค่อยพูดจา, เช่น รามสูรได้ยินสิ้นสติลงนั่งมิจะทำกระไรได้. (บทระบำตลก พระราชนิพนธ์ ร.๕).
- มิจฉา มิดฉา ว. ผิด, แผลงใช้ว่า มฤจฉา ก็มี. ( ป. มิจฺฉา; ส. มิถฺยา).
- มฤจฉาทิฎฐิ ความเห็นผิด มิจฉาทิฎฐิ มิจฉาทิฐิ
- มิจฉาทิฐิ น. ความเห็นผิดจากทำนองคลองธรรม. (ป.).
- มัจฉา น. ปลา. (ป. มจฺฉ; ส. มตฺสฺย).
- มุจฉา มุด- น. การสลบ. (ป.; ส. มูรฺฉา).
- มิจฉาชีพ น. การหาเลี้ยงชีวิตในทางผิด, อาชีพที่ผิดกฎหมาย, เช่น เขาประกอบมิจฉาชีพ. ว. ที่หาเลี้ยงชีวิตในทางผิด, ที่ประกอบอาชีพผิดกฎหมาย, เช่น พวกมิจฉาชีพ. (ป. มิจฺฉา + อาชีว).
- มิจฉาบถ น. ทางดำเนินผิด. (ป.).
- มิจฉาสติ น. ความระลึกในทางผิด. (ป.).
- ปฏิปุจฉาวาที น. ผู้จำแนกธรรมหรือพยากรณ์ปัญหาธรรมด้วยวิธีย้อนถาม. (ป.).
- มฤจฉาทิฐิ น. มิจฉาทิฐิ, ความเห็นผิดทางธรรม.
- มัจฉาชาติ น. พวกปลา.
- มิจฉากัมมันตะ น. “การงานอันผิด” คือ ประพฤติกายทุจริต. (ป.).
- มิจฉาจริยา น. การประพฤติผิด.
- มิจฉาจาร น. การประพฤติผิด. (ป. มิจฺฉา + อาจาร).