เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

มิจฉาสติ คือ

สัทอักษรสากล: [mit chā sa ti]  การออกเสียง:
"มิจฉาสติ" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • น. ความระลึกในทางผิด. (ป.).
  • มิ     ๑ ว. ไม่ เช่น มิทราบ มิควร มิบังอาจ. ๒ ก. เฉย, ไม่ค่อยพูดจา, เช่น รามสูรได้ยินสิ้นสติลงนั่งมิจะทำกระไรได้. (บทระบำตลก พระราชนิพนธ์ ร.๕).
  • มิจฉา     มิดฉา ว. ผิด, แผลงใช้ว่า มฤจฉา ก็มี. ( ป. มิจฺฉา; ส. มิถฺยา).
  • สต     สะตะ- น. ร้อย (๑๐๐). ( ป. ; ส. ศต).
  • สติ     สะติ น. ความรู้สึก, ความรู้สึกตัว, เช่น ได้สติ ฟื้นคืนสติ สิ้นสติ, ความรู้สึกผิดชอบ เช่น มีสติ ไร้สติ, ความระลึกได้ เช่น ตั้งสติ กำหนดสติ. ( ป.
  • ติ     ก. ชี้ข้อบกพร่อง.
  • มิจฉาสมาธิ    น. สมาธิผิด, ความตั้งใจผิด. (ป.).
  • มิจฉาสังกัปปะ    น. ความดำริในทางที่ผิด. (ป.).
  • มัจฉา    น. ปลา. (ป. มจฺฉ; ส. มตฺสฺย).
  • มุจฉา    มุด- น. การสลบ. (ป.; ส. มูรฺฉา).
  • มิจฉาชีพ    น. การหาเลี้ยงชีวิตในทางผิด, อาชีพที่ผิดกฎหมาย, เช่น เขาประกอบมิจฉาชีพ. ว. ที่หาเลี้ยงชีวิตในทางผิด, ที่ประกอบอาชีพผิดกฎหมาย, เช่น พวกมิจฉาชีพ. (ป. มิจฺฉา + อาชีว).
  • มิจฉาทิฎฐิ    ความเห็นผิด มฤจฉาทิฎฐิ มิจฉาทิฐิ
  • มิจฉาทิฐิ    น. ความเห็นผิดจากทำนองคลองธรรม. (ป.).
  • มิจฉาบถ    น. ทางดำเนินผิด. (ป.).
  • ปัจฉาสมณะ    น. สมณะผู้ตามหลัง คือ พระผู้น้อยมีหน้าที่เดินตามหลังพระผู้ใหญ่. (ป.).
  • มัจฉาชาติ    น. พวกปลา.