เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

มัจฉา คือ

สัทอักษรสากล: [mat chā]  การออกเสียง:
"มัจฉา" การใช้"มัจฉา" อังกฤษ"มัจฉา" จีน
ความหมายมือถือ
  • น. ปลา. (ป. มจฺฉ; ส. มตฺสฺย).
  • มิจฉา    มิดฉา ว. ผิด, แผลงใช้ว่า มฤจฉา ก็มี. (ป. มิจฺฉา; ส. มิถฺยา).
  • มุจฉา    มุด- น. การสลบ. (ป.; ส. มูรฺฉา).
  • มิจฉาชีพ    น. การหาเลี้ยงชีวิตในทางผิด, อาชีพที่ผิดกฎหมาย, เช่น เขาประกอบมิจฉาชีพ. ว. ที่หาเลี้ยงชีวิตในทางผิด, ที่ประกอบอาชีพผิดกฎหมาย, เช่น พวกมิจฉาชีพ. (ป. มิจฺฉา + อาชีว).
  • มิจฉาทิฎฐิ    ความเห็นผิด มฤจฉาทิฎฐิ มิจฉาทิฐิ
  • มิจฉาทิฐิ    น. ความเห็นผิดจากทำนองคลองธรรม. (ป.).
  • มิจฉาบถ    น. ทางดำเนินผิด. (ป.).
  • มิจฉาสติ    น. ความระลึกในทางผิด. (ป.).
  • มัจฉาชาติ    น. พวกปลา.
  • มิจฉากัมมันตะ    น. “การงานอันผิด” คือ ประพฤติกายทุจริต. (ป.).
  • มิจฉาจริยา    น. การประพฤติผิด.
  • มิจฉาจาร    น. การประพฤติผิด. (ป. มิจฺฉา + อาจาร).
  • มิจฉาวาจา    น. “การเจรจาถ้อยคำผิด” คือ ประพฤติวจีทุจริต. (ป.).
  • มิจฉาสมาธิ    น. สมาธิผิด, ความตั้งใจผิด. (ป.).
  • มิจฉาสังกัปปะ    น. ความดำริในทางที่ผิด. (ป.).
  • มิจฉาอาชีวะ    น. การเลี้ยงชีพในทางผิด.
ประโยค
  • " เจ้ามัจฉาร้องตะโกนว่า ' ชีวิตในสายชลนั้นเป็นอย่างไร ?
  • " ระหว่างนั้นเหล่ามัจฉาต่างอยู่ในบ้านของตน
  • เพราะพวกคุณ ลูกผมจะได้ซัดมัจฉาเร็วๆนี้
  • เขาดูเหมือนกับหุ่นเชิดปากมัจฉามากกว่า
  • " และนั่นก็คือเหตุผลที่ว่าทำไมมัจฉา
  • ตามล่าตามล้างหมู่มวลมัจฉา
  • บริเวณบ้านวังมัจฉาวารี
  • " มัจฉาทั้งหมดต่างออกมา
  • แกงส้มบุกมัจฉาผักรวม
  • ว่ายวนเยี่ยงมัจฉา
  • ตัวอย่างการใช้เพิ่มเติม:  1  2