สมุจเฉท- คือ
สะหฺมุดเฉด, -เฉดทะ-
น. การตัดขาด. (ป., ส.).
- สม ๑ ว. เหมาะ, เหมาะกับ, ควรแก่, เช่น บ่าวสาวคู่นี้สมกัน เขาแต่งตัวสมฐานะ แสดงละครได้สมบทบาท เขาต่อสู้กันอย่างสมศักดิ์ศรี เด็กคนนี้แต่งตัวไม่สมวัย,
- สมุจเฉท สะหฺมุดเฉด, -เฉดทะ- น. การตัดขาด. ( ป. , ส. ).
- มุ ก. ตั้งใจเอาจริงเอาจัง เช่น มุดูหนังสือ มุสู้ มุจะเอาชนะให้ได้, มักใช้เข้าคู่กับคำ มานะ เป็น มุมานะ เช่น เขามุมานะทำงาน.
- เฉ ว. เหไป, ไม่ตรงเส้นตรงแนว.
- เฉท เฉด ( แบบ ) น. การตัด, การฟัน, การฉีก, การเด็ด, การขาด, เช่น เฉทเฌอ. ( ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). ( ป. , ส. ).
- อุจเฉท อุดเฉด, อุดเฉทะ- ก. ขาดสิ้น, สูญ. (ป., ส.).
- อุจเฉท- อุดเฉด, อุดเฉทะ- ก. ขาดสิ้น, สูญ. (ป., ส.).
- สมุจเฉทปหาน -ปะหาน น. การละกิเลสได้ขาดอย่างพระอรหันต์.
- อุจเฉททิฐิ อุดเฉทะ- น. ความเห็นว่าตายแล้วสูญ (ไม่มีปฏิสนธิวิญญาณหรือการเกิดใหม่). (ป. อุจฺเฉททิฏฺfig0129.jpg (ฐิ)).
- บริเฉท บอริเฉด, บอริเฉทะ-, บอริเฉดทะ- น. การกำหนด; ข้อความที่รวบรวมเอามาจัดเป็นตอน ๆ, ข้อความที่กำหนดไว้เป็นหมวด ๆ. (ป. ปริจฺเฉท).
- บริเฉท- บอริเฉด, บอริเฉทะ-, บอริเฉดทะ- น. การกำหนด; ข้อความที่รวบรวมเอามาจัดเป็นตอน ๆ, ข้อความที่กำหนดไว้เป็นหมวด ๆ. (ป. ปริจฺเฉท).
- ปริเฉท ปะริเฉด น. บริเฉท. (ป. ปริจฺเฉท).
- บริเฉทกาล บอริเฉทะกาน, บอริเฉดทะกาน น. เวลาที่มีกำหนดลง.
- ใจเฉื่อย ว. มีอารมณ์เฉื่อยชา, ไม่กระตือรือร้น.
- ฉทึง ฉะ- น. แม่น้ำ เช่น ฉทึงธารคีรีเหวผา. (ดุษฎีสังเวย), ใช้ว่า จทึง ชทึง ชรทึง สทิง สทึง หรือ สรทึง ก็มี. (ข. สฺทึง ว่า คลอง).