เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ฉทึง คือ

การออกเสียง:
"ฉทึง" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • ฉะ-
    น. แม่น้ำ เช่น ฉทึงธารคีรีเหวผา. (ดุษฎีสังเวย), ใช้ว่า จทึง ชทึง ชรทึง สทิง สทึง หรือ สรทึง ก็มี. (ข. สฺทึง ว่า คลอง).
  • เฉท    เฉด (แบบ) น. การตัด, การฟัน, การฉีก, การเด็ด, การขาด, เช่น เฉทเฌอ. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). (ป., ส.).
  • ฉทวาร    ฉะทะวาน น. ทวารทั้ง ๖ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ.
  • บริเฉท    บอริเฉด, บอริเฉทะ-, บอริเฉดทะ- น. การกำหนด; ข้อความที่รวบรวมเอามาจัดเป็นตอน ๆ, ข้อความที่กำหนดไว้เป็นหมวด ๆ. (ป. ปริจฺเฉท).
  • บริเฉท-    บอริเฉด, บอริเฉทะ-, บอริเฉดทะ- น. การกำหนด; ข้อความที่รวบรวมเอามาจัดเป็นตอน ๆ, ข้อความที่กำหนดไว้เป็นหมวด ๆ. (ป. ปริจฺเฉท).
  • ปริเฉท    ปะริเฉด น. บริเฉท. (ป. ปริจฺเฉท).
  • สมุจเฉท    สะหฺมุดเฉด, -เฉดทะ- น. การตัดขาด. (ป., ส.).
  • สมุจเฉท-    สะหฺมุดเฉด, -เฉดทะ- น. การตัดขาด. (ป., ส.).
  • อุจเฉท    อุดเฉด, อุดเฉทะ- ก. ขาดสิ้น, สูญ. (ป., ส.).
  • อุจเฉท-    อุดเฉด, อุดเฉทะ- ก. ขาดสิ้น, สูญ. (ป., ส.).
  • อุรัจฉทะ    อุรัดฉะทะ, อุรัดฉัด น. เครื่องกำบังอก, เกราะ; เครื่องประดับอก. (ป.; ส. อุรศฺฉท).
  • ฉทานศาลา    ฉ้อทานนะสาลา น. ศาลาเป็นที่ทำทาน ๖ แห่ง, บางทีเขียนว่า ศาลาฉทาน.
  • บริเฉทกาล    บอริเฉทะกาน, บอริเฉดทะกาน น. เวลาที่มีกำหนดลง.
  • ศาลาฉทาน    -ฉ้อทาน น. สถานที่แจกจ่ายอาหารแก่คนทั่วไปเป็นการกุศล, ฉทานศาลา ก็เรียก.
  • อุจเฉททิฐิ    อุดเฉทะ- น. ความเห็นว่าตายแล้วสูญ (ไม่มีปฏิสนธิวิญญาณหรือการเกิดใหม่). (ป. อุจฺเฉททิฏฺfig0129.jpg (ฐิ)).
  • สมุจเฉทปหาน    -ปะหาน น. การละกิเลสได้ขาดอย่างพระอรหันต์.