สระสม คือ
"สระสม" การใช้
สฺระ-
(วรรณ) ว. สวย เช่น พิศดูคางสระสม. (ลอ).
- สร สฺระ- คำนำหน้าคำอื่นที่ใช้ในบทกลอนเพื่อความสละสลวย เช่น ดื่น เป็น สรดื่น, คำที่แผลงมาจากคำที่ขึ้นต้นด้วยตัว ส ซึ่งใช้ในบทกลอน เช่น สนุก เป็น
- สระ ๑ สะ น. แอ่งน้ำขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นเองหรือคนขุด. ( ป. สร; ส. สรสฺ). ๒ สะหฺระ น.
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- สม ๑ ว. เหมาะ, เหมาะกับ, ควรแก่, เช่น บ่าวสาวคู่นี้สมกัน เขาแต่งตัวสมฐานะ แสดงละครได้สมบทบาท เขาต่อสู้กันอย่างสมศักดิ์ศรี เด็กคนนี้แต่งตัวไม่สมวัย,
- สระประสม n. สระที่เกิดขึ้นจากการประสมสระเดี่ยว 2 ตัวขึ้นไปเข้าด้วยกัน, การออกเสียงสระสองเสียงต่อเนื่องกัน โดยการเลื่อนลิ้นไปยังตำแหน่งที่ต่างกัน คำตรงข้าม: สระเดี่ยว ตัวอย่างการใช้: ภาษาไทยมีสระป
- สระประสมสองเสียง สระประสม หน่วยเสียงสระประสม
- หน่วยเสียงสระประสม สระประสม สระประสมสองเสียง
- กระสม น. ไม้ที่อยู่ในเครื่องทอผ้า สำหรับบิดม้วนผ้าที่ทอแล้ว เรียกว่า ไม้กระสม. (ปาเลกัว).
- ประสม ก. รวมกันเข้า (เป็นคำใช้ได้ทั่ว ๆ ไป).
- กระสร้อย น. ปลาสร้อย. (ดู สร้อย ๒).
- สระผสม สระประสม
- กระสรวล -สวน (กลอน) ก. ยินดี, ร่าเริง, เช่น นางนกกระสรวลสันต์ สมเสพ. (นิ. นรินทร์).
- พระสรัสวดี พาณี วาณี
- ประสมประสาน ก. ผสมผสาน, เก็บรวมไว้ทีละเล็กละน้อย, เก็บเล็กผสมน้อย.
- การประสม การปะติดปะต่อ การรวมสิ่งต่างๆ เข้าด้วยกัน
ประโยค
- อุณหภูมิสูงอุณหภูมิต่ำระบบอิสระสมบูรณ์ ;
- เราจะเป็นอิสระสมองของคุณด้วยการทำให้ซอฟแวร์สมาร์ทของเรา
- วิธีการเลือกตารางสระสมบูรณ์
- อิสระสมดุลใบมีดให้เทคโนโลยีหมึกเอาได้ง่าย ๆ ทำให้นาทีดันเอาหมึก และยืดอายุของแผ่นเหล็ก