สันตุฏฐี คือ
- น. สันโดษ. (ป.; ส. สํตุษฺฏิ).
- สัน ๑ น. สิ่งที่มีลักษณะนูนสูงขึ้นเป็นแนวยาว เช่น สันหลังคา สันหน้าแข้ง ดั้งจมูกเป็นสัน; ส่วนหนาของมีดหรือขวานซึ่งอยู่ตรงข้ามกับคม. ๒ ( ถิ่น-พายัพ
- ตุ ว. ลักษณะกลิ่นเหม็นอย่างหนึ่งคล้ายกลิ่นเนื้อหรือปลาที่ตากไม่ได้แดดเป็นต้น, ใช้ประกอบกับคำ เหม็น เป็น เหม็นตุ.
- อัฏฐ อัดถะ- (แบบ) ว. แปด. (ป.).
- อัฏฐ- อัดถะ- (แบบ) ว. แปด. (ป.).
- อิฏฐ อิดถะ- ว. น่าปรารถนา, เป็นที่พอใจ, ต้องใจ, น่ารัก. (ป.; ส. อิษฺฏ).
- อิฏฐ- อิดถะ- ว. น่าปรารถนา, เป็นที่พอใจ, ต้องใจ, น่ารัก. (ป.; ส. อิษฺฏ).
- สันติ น. ความสงบ เช่น อยู่ร่วมกันโดยสันติ. (ป.; ส. ศานฺติ).
- สันต์ ว. เงียบ, สงบ, สงัด. (ป.; ส. ศานฺต).
- สันติสุข น. ความสุขที่เกิดจากความสงบ เช่น รัฐบาลบริหารประเทศเพื่อสันติสุขของประชาชน.
- กุฏฐัง น. โรคเรื้อนซึ่งทำให้อวัยวะเช่นมือและเท้ากุดเหี้ยนไป. (ป.).
- ทิฏฐะ ทิดถะ- (แบบ) ว. อันบุคคลเห็นแล้ว, ทันตาเห็น. (ป. ทิฏฺ; ส. ทฺฤษฺฏ).
- ปทัฏฐาน น. แบบแผนสำหรับยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติ; เหตุที่ตั้งเป็นเครื่องถึง, เหตุอันใกล้ที่สุด; บรรทัดฐาน หรือ ปทัสถาน ก็ว่า. (ป.; ส. ปทสฺถาน).
- ปิฏฐะ ปิดถะ (แบบ) น. แป้ง. (ป.).
- มัฏฐะ ว. เกลี้ยง. (ป. มฏฺ; ส. มฺฤษฺฏ).
- ยิฏฐะ ยิดถะ น. การบูชา, การเซ่นสรวง. (ป. ยิฏฺ; ส. อิษฺฏ).