เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

อนุพัทธ์ คือ

การออกเสียง:
"อนุพัทธ์" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • ว. ที่ติดต่อ, ที่เกี่ยวเนื่อง.
  • อน     อะนะ- เป็นคำปฏิเสธ แปลว่า ไม่, ไม่ใช่, ใช้ประกอบหน้าศัพท์บาลีและสันสกฤตที่ขึ้นต้นด้วยสระ เช่น อาทร = เอื้อเฟื้อ, อนาทร = ไม่เอื้อเฟื้อ. ( ดู อ ๒
  • อนุ     คำประกอบหน้าศัพท์บาลีหรือสันสกฤตมีความหมายว่า น้อย เช่น อนุทิศ = ทิศน้อย, ภายหลัง, รุ่นหลัง, เช่น อนุชน = ชนรุ่นหลัง, ตาม เช่น อนุวัต = เป็นไปตาม,
  • นุ     ๑ ( กลอน ) ตัดมาจากอุปสรรค อนุ เช่น ทราบนุสนธิ์ทุกแห่ง. ( ตะเลงพ่าย ); อเนกนุประการ. ( พงศ. เลขา ); โดยนุกรม. ( ม. คำหลวง วนปเวสน์). ๒ (
  • พัทธ     พัดทะ-, พัด ก. ผูก, ติด, เนื่อง. ( ป. ).
  • พัทธ์     พัดทะ-, พัด ก. ผูก, ติด, เนื่อง. ( ป. ).
  • พัทธ-    พัดทะ-, พัด ก. ผูก, ติด, เนื่อง. (ป.).
  • พุทธ    พุด, พุดทะ- น. ผู้ตรัสรู้, ผู้ตื่นแล้ว, ผู้เบิกบานแล้ว, ใช้เฉพาะเป็นพระนามของพระบรมศาสดาแห่งพระพุทธศาสนา เรียกเป็นสามัญว่า พระพุทธเจ้า. (ป.).
  • พุทธ-    พุด, พุดทะ- น. ผู้ตรัสรู้, ผู้ตื่นแล้ว, ผู้เบิกบานแล้ว, ใช้เฉพาะเป็นพระนามของพระบรมศาสดาแห่งพระพุทธศาสนา เรียกเป็นสามัญว่า พระพุทธเจ้า. (ป.).
  • พุทธิ    พุดทิ น. ปัญญา, ความฉลาด. (ป.).
  • นิพัทธ    นิพัดทะ-, นิพัด (แบบ) ว. เนือง ๆ, เสมอ, เนื่องกัน. (ป.).
  • นิพัทธ-    นิพัดทะ-, นิพัด (แบบ) ว. เนือง ๆ, เสมอ, เนื่องกัน. (ป.).
  • นิพัทธ์    นิพัดทะ-, นิพัด (แบบ) ว. เนือง ๆ, เสมอ, เนื่องกัน. (ป.).
  • ปฏิพัทธ์    ก. เนื่องกัน, ผูกพัน, รักใคร่. (ป. ปฏิพทฺธ; ส. ปฺรติพทฺธ).
  • พัทธยา    ๑ น. จำนวนที่หักหรือริบเอาไว้เป็นภาคหลวง. ๒ น. เรียกลมที่พัดจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือในต้นฤดูฝนว่า ลมพัทธยา.
  • พัทธสีมา    น. เขตที่สงฆ์กำหนดผูกขึ้นเพื่อใช้ทำสังฆกรรม มีขนาดพอจุภิกษุที่นั่งห่างกันคืบหนึ่ง ๆ ได้ไม่น้อยกว่า ๒๑ รูป.