เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

อัประมาท คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • อับปฺระหฺมาด
    น. ความไม่มึนเมา; ความไม่เลินเล่อ, ความระวัง, ความเอาใจใส่; อประมาท ก็ว่า. (ส.; ป. อปฺปมาท).
  • อัป     อับปะ- คำประกอบหน้าศัพท์ที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต มีความหมายว่า ไม่, ไร้, ไปจาก, ปราศจาก, เช่น อัปภาคย์ ว่า ไร้โชค ปราศจากโชค, อัปยศ ว่า ไร้ยศ,
  • ปร     ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
  • ประ     ปฺระ ใช้เติมหน้าคำอื่นเพื่อให้คำหนักแน่นขึ้น เช่น ชิด เป็น ประชิด, ท้วง เป็น ประท้วง; คำที่แผลงมาจาก ผ เช่น ผทม เป็น ประทม แล้วแผลง ประ เป็น บรร
  • ประมาท     ปฺระหฺมาด ก. ขาดความรอบคอบ, ขาดความระมัดระวังเพราะทะนงตัว, เช่น เวลาขับรถอย่าประมาท; ดูหมิ่น เช่น ประมาทฝีมือ. น. ความเลินเล่อ,
  • ระ     ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
  • ระมา     น. เหลือบ. ( ช. ).
  • มา     ๑ น. พระจันทร์. ( ป. ; ส. มาสฺ). ๒ ก. เคลื่อนออกจากที่เข้าหาตัวผู้พูด เช่น มานี่ มาหาฉันหน่อย, ตรงกันข้ามกับ ไป. ว.
  • ประมาทเลินเล่อ    ก. กระทำโดยปราศจากความระมัดระวังหรือละเลยในสิ่งที่ควรกระทำ.
  • คนประมาท    คนสะเพร่า คนไม่เอาไหน คนขี้หลงขี้ลืม คนเลินเล่อ คนไม่มีสมาธิ
  • ซึ่งประมาท    ซึ่งไม่ระมัดระวัง
  • สบประมาท    ก. แสดงกิริยาวาจาดูถูกดูหมิ่นซึ่ง ๆ หน้า เช่น เขาถูกสบประมาทในที่ประชุม, ประมาทหน้า.
  • หมิ่นประมาท    ก. แสดงกิริยาวาจาดูถูกเหยียดหยามผู้อื่น. (กฎ) น. ชื่อความผิดทางอาญาฐานใส่ความผู้อื่นต่อบุคคลที่สาม โดยประการที่น่าจะทำให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง.
  • อประมาท    อะปฺระหฺมาด, อับปฺระหฺมาด น. ความไม่มึนเมา; ความไม่เลินเล่อ, ความระวัง, ความเอาใจใส่. (ส.; ป. อปฺปมาท).
  • คนที่ประมาทเลินเล่อ    คนที่สกปรก คนที่ไม่เห็นระเบียบ คนที่ไม่เอาไหน คนสะเพร่า บุคคลอุ้ยอ้าย โง่ เงอะงะ
  • อัประมาณ    อับปฺระ- ว. กำหนดจำนวนไม่ได้, จำกัดไม่ได้; น่าอับอาย เช่น ย่อยยับอัประมาณ; อประมาณ ก็ว่า. (ส.; ป. อปฺปมาณ).