กะนัด คือ
"กะนัด" การใช้
- (ถิ่น-ปักษ์ใต้) น. ไม้แบน ๒ อันนอกตะกอสำหรับขัดเส้นด้ายเพื่อกันด้ายยุ่ง.
- กะ พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคำซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อสละสลวยหรือเน้นคำให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น
- นัด ๑ ก. ตกลงกันเพื่อการอย่างใดอย่างหนึ่งตามแต่จะกำหนด. น. การกำหนดตกลงว่าจะพบปะกันเป็นต้น เช่น มีนัด ผิดนัด;
- กะนวล น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Garcinia merguensis Wight ในวงศ์ Guttiferae มียางสีเหลืองจาง ๆ.
- ตะรังกะนู น. เรียกของบางอย่างที่มาจากเมืองตะรังกะนู เช่น ส้มตะรังกะนู พิมเสนตะรังกะนู. (ปัจจุบัน คือ รัฐตรังกานูในประเทศมาเลเซีย).
- ทีละนิด ทีละนิ้ว ทีละน้อย
- แนะนัด ก. นัดแนะ, นัดและชี้แจงให้กันทราบ.
- ดื่มทีละนิด จิบ ดื่มจิบ n.
- กะดัด (ถิ่น-ปักษ์ใต้) น. ต้นราชดัด. (ดู ราชดัด).
- กะตรุด -ตฺรุด (กลอน) น. ตะกรุด เช่น พระกะตรุดเลศเลขลง เลิศแล้ว. (พยุหยาตรา), กะตุด ก็ใช้.
- กะตุด (ปาก) น. ตะกรุด, บางทีเรียก กะตรุด ก็มี.
- กะทัดรัด ว. สมทรง, สมส่วน, เหมาะเจาะ.
- กะทิขูด ดู สีกรุด.
- กะบุด ดู กัง.
- กะปูด น. ชื่อนกในวงศ์ Centropodidae ขนปีกสีน้ำตาลแดง ลำตัวสีดำ ร้องเสียง “ปูด ๆ” เดินหรือวิ่งหากินตามพื้นป่าโปร่ง บินได้ในระยะทางสั้น ๆ มี ๓ ชนิด คือ กะปูดใหญ่ (Centropus sinensis) กะปูดเล็ก (C. bengalens
- กะหูด (ถิ่น) น. เครื่องมือจับสัตว์น้ำชนิดหนึ่ง ใช้ในท้องที่จังหวัดจันทบุรี รูปร่างคล้ายกรวย ทำด้วยไม้ไผ่.
ประโยค
- ฉันได้ยินมาว่าเอริกะนัดเจ้าโอกิ เคนจิไปดวลตัวต่อตัว