เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ชระง่อน คือ

สัทอักษรสากล: [ngǿn]  การออกเสียง:
"ชระง่อน" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • ชฺระ-
    (กลอน) น. ชะง่อน, หินที่เป็นปุ่มเป็นแง่ยื่นออกมาจากเขา.
  • ชร     ชฺระ- เป็นพยางค์หน้าของคำที่ตั้งต้นด้วยตัว ช ในบทกลอน เช่น ชทึง เป็น ชรทึง. ๑ ชอน น. ลวดลาย, ลายประกอบริม, ระบาย, เช่น ขนนเขนยชร. ( ข. ). ๒
  • ชระ     ๑ ชฺระ ว. สะอาด, บริสุทธิ์, เช่น ให้ฉลักแสบกภาพอันชระ. ( สมุทรโฆษ ). ๒ ชฺระ เป็นพยางค์หน้าของคำในบทกลอน เช่น ชระงม ชระง่อน.
  • ระ     ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
  • ง่อน     น. ก้อนดินหรือหินที่ตั้งสูงขึ้นไป เช่น เงื้อมง่อน ว่า เงื้อมแห่งก้อนดินหรือหินที่ตั้งสูงขึ้นไป.
  • อน     อะนะ- เป็นคำปฏิเสธ แปลว่า ไม่, ไม่ใช่, ใช้ประกอบหน้าศัพท์บาลีและสันสกฤตที่ขึ้นต้นด้วยสระ เช่น อาทร = เอื้อเฟื้อ, อนาทร = ไม่เอื้อเฟื้อ. ( ดู อ ๒
  • ชระงม    ชฺระ- (กลอน) น. ป่ากว้าง, ป่าใหญ่. ว. เปลี่ยวเปล่า, เงียบสงัด, เช่น อยู่ชระงมนั้น. (ม. คำหลวง มหาราช).
  • ชระงำ    ชฺระ- (กลอน) ว. คลุ้ม, มืด, งำ.
  • ระงี่    (โบ) ว. ดัง, ระงม, เซ็งแซ่.
  • กระง่อนกระแง่น    ว. คลอนแคลน, ไม่แน่น, ไม่มั่นคง, ง่อนแง่น ก็ว่า.
  • เลื่อนหรือระงับ    ขัดสิ่งสกปรกออก ขัดอย่างแรง ถูอย่างแรง ทำให้อากาศบริสุทธิ์ ล้างแก๊ส
  • ชะง่อน    น. หินที่เป็นปุ่มเป็นแง่ยื่นออกมาจากเขา.
  • ปะงับปะง่อน    ว. ปะหงับปะง่อน.
  • ตระง่อง    ตฺระ- ก. จ้อง, คอยดู, (โบ) ในบทร้อยกรองใช้ว่า กระหง่อง กระหน่อง ตระหง่อง หรือ ตระหน่อง ก็มี.
  • ผู้ระงับ    ผู้ยับยัง ผู้ไม่อนุญาต ผู้ไม่อนุมัติ
  • ระงม    ว. เสียงร้องแสดงความเศร้าโศกเสียใจของคนเป็นจำนวนมาก เช่น ร้องระงม; อบอ้าว, อบด้วยความร้อนหรือควัน, ในคำว่า ร้อนระงม.