เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ชระงม คือ

สัทอักษรสากล: [ngom]  การออกเสียง:
"ชระงม" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • ชฺระ-
    (กลอน) น. ป่ากว้าง, ป่าใหญ่.
    ว. เปลี่ยวเปล่า, เงียบสงัด, เช่น อยู่ชระงมนั้น. (ม. คำหลวง มหาราช).
  • ชร     ชฺระ- เป็นพยางค์หน้าของคำที่ตั้งต้นด้วยตัว ช ในบทกลอน เช่น ชทึง เป็น ชรทึง. ๑ ชอน น. ลวดลาย, ลายประกอบริม, ระบาย, เช่น ขนนเขนยชร. ( ข. ). ๒
  • ชระ     ๑ ชฺระ ว. สะอาด, บริสุทธิ์, เช่น ให้ฉลักแสบกภาพอันชระ. ( สมุทรโฆษ ). ๒ ชฺระ เป็นพยางค์หน้าของคำในบทกลอน เช่น ชระงม ชระง่อน.
  • ระ     ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
  • ระงม     ว. เสียงร้องแสดงความเศร้าโศกเสียใจของคนเป็นจำนวนมาก เช่น ร้องระงม; อบอ้าว, อบด้วยความร้อนหรือควัน, ในคำว่า ร้อนระงม.
  • งม     ก. ดำน้ำลงไปคลำหาของ, คลำหาของในน้ำ; โดยปริยายหมายความว่า งุ่มง่าม, ชักช้า, เช่น มัวไปงมอยู่ที่ไหน.
  • ชระงำ    ชฺระ- (กลอน) ว. คลุ้ม, มืด, งำ.
  • ชระง่อน    ชฺระ- (กลอน) น. ชะง่อน, หินที่เป็นปุ่มเป็นแง่ยื่นออกมาจากเขา.
  • ดังระงม    1) v. อื้ออึงเซ็งแซ่ไปหมด ชื่อพ้อง: อื้ออึง, เซ็งแซ่ ตัวอย่างการใช้: เสียงหัวเราะของเขาดังระงมไปทั่วบริเวณ 2) adv. อื้ออึงเซ็งแซ่ไปหมด , ชื่อพ้อง: อื้ออึง, เซ็งแซ่ ตัวอย่างก
  • ระงมไพร    น. ชื่อนกชนิดหนึ่ง อยู่ตามป่าใหญ่. (พจน. ๒๔๙๓).
  • ระงี่    (โบ) ว. ดัง, ระงม, เซ็งแซ่.
  • ตระง่อง    ตฺระ- ก. จ้อง, คอยดู, (โบ) ในบทร้อยกรองใช้ว่า กระหง่อง กระหน่อง ตระหง่อง หรือ ตระหน่อง ก็มี.
  • ผู้ระงับ    ผู้ยับยัง ผู้ไม่อนุญาต ผู้ไม่อนุมัติ
  • ระงับ    ๑ ก. ยับยั้งไว้, ทำให้สงบ, เช่น ระงับคดี ระงับเรื่องราว. ๒ น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Breynia glauca Craib ในวงศ์ Euphorbiaceae คล้ายต้นก้างปลา ใช้ทำยาได้.
  • ระงับพิษ    น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Breynia glauca Craib ในวงศ์ Euphorbiaceae คล้ายต้นก้างปลา ใช้ทำยาได้.
  • ระงับสติ    สงบใจไว้ ไม่ตื่นเต้น