เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ชระมุ่น คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • ชฺระ-
    (กลอน) ว. มุ่น, นุ่ม, เช่น ลานโลมวิไลแถงชระมุ่น อกเอย. (นิ. นรินทร์).
  • ชร     ชฺระ- เป็นพยางค์หน้าของคำที่ตั้งต้นด้วยตัว ช ในบทกลอน เช่น ชทึง เป็น ชรทึง. ๑ ชอน น. ลวดลาย, ลายประกอบริม, ระบาย, เช่น ขนนเขนยชร. ( ข. ). ๒
  • ชระ     ๑ ชฺระ ว. สะอาด, บริสุทธิ์, เช่น ให้ฉลักแสบกภาพอันชระ. ( สมุทรโฆษ ). ๒ ชฺระ เป็นพยางค์หน้าของคำในบทกลอน เช่น ชระงม ชระง่อน.
  • ระ     ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
  • มุ     ก. ตั้งใจเอาจริงเอาจัง เช่น มุดูหนังสือ มุสู้ มุจะเอาชนะให้ได้, มักใช้เข้าคู่กับคำ มานะ เป็น มุมานะ เช่น เขามุมานะทำงาน.
  • มุ่น     ก. ขมวด (ใช้แก่มวยผม) เช่น มุ่นมวยผม มุ่นพระเมาลี; กังวลอยู่; ( กลอน ) เกลี้ยงเกลา, อ่อนนุ่ม. น. เรียกเงินแท่งชนิดหนึ่ง
  • ชระมื่น    ชฺระ- (กลอน) ว. ทะมื่น เช่น ผีพรายชระมื่น ดำช่วยดู. (แช่งน้ำ).
  • ชระมด    ชฺระ- (กลอน) น. ชะมด.
  • ชระมัว    ชฺระ- (กลอน) ว. ขมุกขมัว, ยังไม่สว่าง, เช้าตรู่, มืด, เช่น ชระมัวทั่วทิศเอียง อากาศ. (นิ. นรินทร์).
  • ชระมุกชระมอม    ชฺระ- (กลอน) ว. ขะมุกขะมอม.
  • ชระดื่น    ชฺระ- (กลอน) ว. ดื่น.
  • กระมัน    ดู กระโห้.
  • กระมึน    (โบ) ว. สูงค้ำฟ้า, สูงเด่น, เช่น กายาศีรษะพลัดพราย หัวขาดเด็ดตาย จรลู่กระมึนเหมือนเขา. (เสือโค, บางฉบับเป็น ตระหมื้น), ตระมึน ก็ใช้, โดยมากเป็น ทะมื่น.
  • ตระมื่น    ตฺระ- (กลอน) ว. สูงใหญ่, ทะมื่น ก็ใช้.
  • ชริน    ชะ- ก. ประดับ เช่น กรุงชรินไว้.
  • ชระงม    ชฺระ- (กลอน) น. ป่ากว้าง, ป่าใหญ่. ว. เปลี่ยวเปล่า, เงียบสงัด, เช่น อยู่ชระงมนั้น. (ม. คำหลวง มหาราช).