เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ชระมัว คือ

สัทอักษรสากล: [mūa]  การออกเสียง:
"ชระมัว" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • ชฺระ-
    (กลอน) ว. ขมุกขมัว, ยังไม่สว่าง, เช้าตรู่, มืด, เช่น ชระมัวทั่วทิศเอียง อากาศ. (นิ. นรินทร์).
  • ชร     ชฺระ- เป็นพยางค์หน้าของคำที่ตั้งต้นด้วยตัว ช ในบทกลอน เช่น ชทึง เป็น ชรทึง. ๑ ชอน น. ลวดลาย, ลายประกอบริม, ระบาย, เช่น ขนนเขนยชร. ( ข. ). ๒
  • ชระ     ๑ ชฺระ ว. สะอาด, บริสุทธิ์, เช่น ให้ฉลักแสบกภาพอันชระ. ( สมุทรโฆษ ). ๒ ชฺระ เป็นพยางค์หน้าของคำในบทกลอน เช่น ชระงม ชระง่อน.
  • ระ     ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
  • มัว     ว. ไม่แจ่ม เช่น พระจันทร์มัว, ไม่กระจ่าง เช่น ข้อความมัว, ฝ้า เช่น กระจกมัว, ฟาง เช่น นัยน์ตามัว, ขมุกขมัว เช่น มืดมัว, ไม่มืดไม่สว่าง เช่น แสงมัว
  • ชระมด    ชฺระ- (กลอน) น. ชะมด.
  • ชระมื่น    ชฺระ- (กลอน) ว. ทะมื่น เช่น ผีพรายชระมื่น ดำช่วยดู. (แช่งน้ำ).
  • ชระมุ่น    ชฺระ- (กลอน) ว. มุ่น, นุ่ม, เช่น ลานโลมวิไลแถงชระมุ่น อกเอย. (นิ. นรินทร์).
  • ชระมุกชระมอม    ชฺระ- (กลอน) ว. ขะมุกขะมอม.
  • วัชระ    วัดชะระ- น. วชิระ. (ส. วชฺร; ป. วชิร).
  • ชรัว    ชฺรัว น. ซอกเขา, หุบเขา.
  • วัชร    วัดชะระ- น. วชิระ. (ส. วชฺร; ป. วชิร).
  • วัชร-    วัดชะระ- น. วชิระ. (ส. วชฺร; ป. วชิร).
  • วัชรี    น. พระอินทร์. (ส.).
  • ระมัดระวังตัว    ขวยเขิน ประหม่า ซึ่งคํานึงถึงภาพลักษณ์ของตนเอง ระแวดระวังตัว
  • ประมาณตัว    ก. สำนึกในฐานะของตน. ว. เจียมตัว, ไม่ทำอะไรเกินฐานะของตน.