ชระลอง คือ
ชฺระ-
น. ทางล่อง, ซอกเขา, ลำธาร, เช่น ผู้ชระลองล่วงห้วงมหรรณพ. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
- ชร ชฺระ- เป็นพยางค์หน้าของคำที่ตั้งต้นด้วยตัว ช ในบทกลอน เช่น ชทึง เป็น ชรทึง. ๑ ชอน น. ลวดลาย, ลายประกอบริม, ระบาย, เช่น ขนนเขนยชร. ( ข. ). ๒
- ชระ ๑ ชฺระ ว. สะอาด, บริสุทธิ์, เช่น ให้ฉลักแสบกภาพอันชระ. ( สมุทรโฆษ ). ๒ ชฺระ เป็นพยางค์หน้าของคำในบทกลอน เช่น ชระงม ชระง่อน.
- ชระลอ ชฺระ- ( กลอน ) ก. ชะลอ, พยุงให้เคลื่อนไป, ประคองไว้.
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- ระลอง ก. เอ็นดู. ( อนันตวิภาค ).
- ลอง ๑ น. ของที่ทำรองรับไว้ชั้นใน เช่น ลองพระสุพรรณราช; ส่วนที่ประกอบชั้นนอกของพระโกศหรือโกศ เรียกว่า พระลอง หรือ ลอง. ๒ ก.
- อง น. คำนำหน้านามของบุคคลซึ่งเป็นเชื้อพระวงศ์ของกษัตริย์ญวน เช่น องเชียงสือ องเชียงชุน,
- ชระล่อง ชฺระ- น. ทางล่อง, ซอกเขา, ลำธาร, เช่น ผู้ชระลองล่วงห้วงมหรรณพ. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
- ชระลัด ชฺระ- (กลอน) น. ทางลัดไปได้.
- ชระลั่ง ชฺระ- (กลอน) ก. ทะลึ่งทะลั่ง เช่น จงสองเจ้าอย่าได้ทะลิ่นชระลั่งคอยนั่งเฝ้าพระบาท. (ม. คำหลวง กุมาร).
- ชระลุ ชฺระ- (กลอน) ก. ปรุ, สลัก, ฉลุ.
- ชระล้ำ ชฺระ- (กลอน) ก. ล้ำ. (ดุษฎีสังเวย).
- ประลอง ก. ทดสอบความรู้ความสามารถด้วยการต่อสู้หรือแข่งขันกัน เช่น ประลองฝีมือ ประลองกำลัง ประลองความเร็ว.
- ทะลิ่นชระลั่ง -ชฺระ- (กลอน) ก. ทะลึ่งทะลั่ง.
- ประลองยุทธ์ ก. ซ้อมรบ.