ปะเลง คือ
- น. การรำเบิกโรงอย่างโบราณ ผู้แสดงแต่งเครื่องละครตัวพระคู่หนึ่ง สวมหน้าเทพบุตรศีรษะโล้น มือทั้ง ๒ ถือหางนกยูงข้างละกำ รำออกท่าประกอบดนตรี.
- ปะ ก. มาเจอกัน, มาประเชิญหน้ากัน; เอาวัตถุเช่นผ้าหรือไม้เป็นต้นปิดทับส่วนที่ชำรุดเป็นช่องเป็นรู เช่น ปะผ้า ปะว่าว, ปิดทับ เช่น ปะหน้า.
- ลง ก. ไปสู่เบื้องต่ำหรือไปสู่เบื้องที่ถือว่าตรงข้ามกับขึ้น เช่น น้ำลง เครื่องบินลง, ไปสู่พื้นดินและพื้นอื่น ๆ เช่น ลงดิน ลงบันได ลงเรือ;
- ชะเลง น. เครื่องดักปลาชนิดหนึ่งคล้ายชนาง.
- ตะเลง น. มอญ.
- ละเลง ก. ป้ายทาหรือไล้ทาให้แผ่ออกไปด้วยวิธีวนเป็นวงกลม ๆ เช่น ละเลงขนมเบื้อง, โดยปริยายหมายความว่า ทำให้เลอะเทอะ เช่น เอาแป้งละเลงหน้า.
- ลงทะเล ตกเรือ ลงน้ำ ออกนอกลำเรือ
- ละเลงเลือด ว. อาการที่ต่อสู้กันจนเลือดออกมากเปรอะไปด้วยกัน เช่น ทั้ง ๒ ฝ่ายต่อสู้กันถึงขั้นละเลงเลือด.
- (ตะเลงพ่าย) มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์
- ละเลงด้วย ทาด้วย
- ละเลงบน ทน ป้าย
- หลงระเลิง มัวเมา ลุ่มหลง หลง หลงใหล เมามัว
- ปะโลง น. ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ใช้ทำยาได้. (พจน. ๒๔๙๓).
- กะเปะ (ถิ่น-ปักษ์ใต้) น. ภาชนะชนิดหนึ่ง สำหรับตักน้ำขึ้นมาจากบ่อ.
- ปะเก็น วงแหวนอัดลูกสูบ วงแหวนอัดลูกสูบให้แน่น เชือกผูกใบเรือ เชือกม้วนใบเรือ
- ปะเตะ ก. เตะ, ฟาดด้วยหลังเท้า.