พะอากพะอำ คือ
- พะ ๑ น. เพิงที่ต่อปะเข้าไปกับด้านสกัดของเรือน, พะเพิง เพิง หรือ เพิงพะ ก็เรียก. ก. พักพิงหรือแอบอิงอาศัย เช่น ลูกมาพะพ่อแม่อยู่, พะพิง ก็ว่า;
- อา ๑ น. น้องของพ่อ, ( โบ ) เขียนเป็น อาว์ ก็มี. (อีสาน อา ว่า น้องสาวของพ่อ, อาว ว่า น้องชายของพ่อ). ๒ ( กลอน ) ว.
- อำ ก. ปิดบัง, ปกปิด; ( ปาก ) พูดหลอกเพื่อให้ตกใจหรือขบขันเป็นต้น, พูดดักคอ.
- ซึ่งรู้สึกพะอืดพะอม คลื่นเหียน ไม่สบาย
- อาการพะอืดพะอม อาการคลื่นเหียน อาการคลื่นไส้
- พะอืดพะอม ว. อาการที่รู้สึกคลื่นไส้; โดยปริยายหมายความว่า ไม่รู้จะตัดสินใจอย่างไรดี, ไม่กล้าที่จะตัดสินใจเด็ดขาดลงไป, กลืนไม่เข้าคายไม่ออก ก็ว่า.
- พะอง น. ไม้ไผ่ป่าตัดแขนงให้ยาวพอที่เท้าจะเหยียบขึ้นลงได้ สำหรับผูกพาดขึ้นต้นไม้ต่างบันได ถ้าต้นไม้สูงมากก็อาจใช้ไม้ไผ่หลายลำผูกต่อ ๆ กันขึ้นไป, โดยปริยายเรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น.
- พะวักพะวง กังวล พะวง ห่วง พะว้าพะวัง ห่วงหน้าพะวงหลัง ห่วงหน้าห่วงหลัง
- พะวักพะวน ก. ห่วงเรื่องต่าง ๆ จนวุ่นวายใจ.
- อำพะนำ ว. นิ่งอึ้งไม่พูดจา, อมพะนำ ก็ว่า.
- รพะ รบ, ระพะ, ระพา น. เสียงร้อง, เสียงดัง, เสียงเอิกเกริก. (ป., ส. รว).
- เพะ ก. โปะเข้าไป, ทุ่มเทเข้าไป. ว. เผง, ไม่ผิดพลาด, เช่น ตรงเพะ ถูกเพะ.
- แพะ ๑ น. ชื่อสัตว์เคี้ยวเอื้องชนิด Capra hircus ในวงศ์ Bovidae เป็นสัตว์กีบคู่ขนาดกลาง มีความอดทน แข็งแรง และทนทานต่อโรคได้ดีกว่าสัตว์กีบคู่อื่น ๆ สามารถปีนป่ายที่สูงโดยเฉพาะโขดหินหรือภูเขาได้ดี ขนหยาบส
- ระอมระอา (กลอน) ก. เบื่อหน่ายเต็มที.
- ระอิดระอา ก. ระอา.