เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

มัจฉะ คือ

สัทอักษรสากล: [mat cha]  การออกเสียง:
"มัจฉะ" การใช้"มัจฉะ" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
  • น. ปลา. (ป. มจฺฉ; ส. มตฺสฺย).
  • ฉะ     ๑ ก. ฟันลงไป; ( ปาก ) คำใช้แทนกริยาได้หลายอย่างแล้วแต่คำห้อมล้อม เช่น ฉะปาก หมายความว่า ต่อยปาก, ฉะข้าว หมายความว่า กินข้าว. ๒
  • กัจฉะ    กัดฉะ (ราชา) น. รักแร้, ใช้ว่า พระกัจฉะ. (ป.; ส. กกฺษ).
  • คัจฉะ    คัดฉะ (แบบ) น. ไม้กอ เช่น คัจฉลดาชาติ. (ม. ร. ๔). (ป.).
  • เคจฉะ    เคดฉะ (แบบ) ก. ไป, ถึง, เช่น ผู้ข้าคุงควรเคจฉเล็ดลอดลุเขาคด. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). (ป. คจฺฉ).
  • พระกัจฉะ    รักแร้ จั๊กแร้
  • มิฉะนั้น    อย่างเป็นไปในทิศทางตรงกันข้าม งั้น ถ้าอย่างนั้น ถ้าเช่นนั้น ไม่เช่นนั้น หาไม่แล้ว ถ้าไม่
  • ทิศปัจฉิม    ทิศตะวันตก ประจิม ปัจฉิม
  • ปัจฉิม    ปัดฉิม, ปัดฉิมมะ- ว. ตะวันตก; ภายหลัง, ทีหลัง, ข้างหลังสุด. (ป. ปจฺฉิม).
  • ปัจฉิม-    ปัดฉิม, ปัดฉิมมะ- ว. ตะวันตก; ภายหลัง, ทีหลัง, ข้างหลังสุด. (ป. ปจฺฉิม).
  • มัจฉระ    ว. ริษยา; ตระหนี่, เห็นแก่ตัว. (ป.; ส. มตฺสร).
  • มัจฉริยะ    น. ความตระหนี่. (ป.; ส. มาตฺสรฺย).
  • มัจฉรี    น. คนตระหนี่. (ป.; ส. มตฺสรินฺ).
  • มัจฉา    น. ปลา. (ป. มจฺฉ; ส. มตฺสฺย).
  • มิจฉา    มิดฉา ว. ผิด, แผลงใช้ว่า มฤจฉา ก็มี. (ป. มิจฺฉา; ส. มิถฺยา).
  • มุจฉา    มุด- น. การสลบ. (ป.; ส. มูรฺฉา).
ประโยค
  • ชาเขียวนมสดอุจิมัจฉะ
  • ชานมสดไข่มุกมัจฉะ
  • การชงชาเขียวมัจฉะแตกต่างจากพิธีชงชาชนิดอื่นๆ เพราะต้องใช้อุปกรณ์เฉพาะในการชงชา คุณไม่ต้องยุ่งยากในการหาอุปกรณ์ในการหาอีกต่อไป เราได้จัดเป็นเซทมาให้คุณแล้ว