วัชรธาตุมณฑล คือ
-ทาตุมนทน, -ทาดมนทน
น. สัญลักษณ์ในทางปัญญาอันคมกล้าที่สามารถตัดอวิชชาได้.
- วัช ๑ ( แบบ ) น. วชะ, คอกสัตว์. ( ป. วช). ๒ วัดชะ- น. สิ่งที่ควรละทิ้ง; โทษ, ความผิด. ( ป. วชฺช; ส. วรฺชฺย, วรฺชฺช). ๓ น. การพูด,
- วัชร วัดชะระ- น. วชิระ. ( ส. วชฺร; ป. วชิร).
- ชร ชฺระ- เป็นพยางค์หน้าของคำที่ตั้งต้นด้วยตัว ช ในบทกลอน เช่น ชทึง เป็น ชรทึง. ๑ ชอน น. ลวดลาย, ลายประกอบริม, ระบาย, เช่น ขนนเขนยชร. ( ข. ). ๒
- ธาตุ ๑ ทาด, ทาตุ-, ทาดตุ- น. สิ่งที่ถือว่าเป็นส่วนสำคัญที่คุมกันเป็นร่างของสิ่งทั้งหลาย โดยทั่ว ๆ ไปเชื่อว่ามี ๔ ธาตุ ได้แก่ ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุไฟ
- ตุ ว. ลักษณะกลิ่นเหม็นอย่างหนึ่งคล้ายกลิ่นเนื้อหรือปลาที่ตากไม่ได้แดดเป็นต้น, ใช้ประกอบกับคำ เหม็น เป็น เหม็นตุ.
- มณฑล มนทน น. วง เช่น สุริยมณฑล คือ วงรอบดวงอาทิตย์ จันทรมณฑล คือ วงรอบดวงจันทร์, บริเวณ เช่น มณฑลพิธี, เขตปกครองที่แบ่งออกเป็นส่วนใหญ่ ๆ;
- ครรภธาตุมณฑล น. ภาวะอันแท้จริงของพระพุทธเจ้าซึ่งอยู่ในสรรพสัตว์ แต่ยังไม่ได้สำแดงให้ปรากฏ. (ส. ครฺภ + ธาตุ + มณฺฑล).
- ปริมณฑล ปะริมนทน น. วงรอบ; ความเรียบร้อย เช่น นุ่งห่มให้เป็นปริมณฑล. (ป.).
- ภรูมณฑล น. คิ้ว. (ส.).
- ศศิมณฑล น. ดวงพระจันทร์. (ส.).
- ชานุมณฑล น. สะบ้าเข่า. (ป., ส.).
- ธรณีมณฑล น. ลูกโลก. (ส.).
- ธุวมณฑล น. แถบขั้วโลก.
- นภมณฑล นบพะมนทน น. ท้องฟ้า. (ส. นโภมณฺฑล).
- พิธีมณฑล น. บริเวณที่กำหนดขึ้นเพื่อประกอบพิธี เช่นกำหนดขอบเขตขึ้นด้วยการกั้นแผงราชวัติ ฉัตร หรือธง.